“การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของสมาคมธนาคารไทยเป็นการสร้างแผนและวิธีการปฏิบัติงานของภาคธนาคารให้มีมาตรฐานกลาง ทำให้การต่อเชื่อมต่างๆ มีความลื่นไหล สะดวก นอกจากนี้ ยังเป็นการวางเป้าประสงค์หรือเป้าหมายของการทำงานที่มีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะมีส่วนช่วยสร้างความเข้มแข็งให้ภาคธุรกิจโดยเฉพาะ SME ให้เข้าสู่วงจรธุรกิจได้ดีขึ้นและสามารถแข่งขันได้มากขึ้น”
ธนาคารเป็นภาคส่วนที่มีหน้าที่สำคัญในระบบเศรษฐกิจ โดยเป็นตัวกลางระดมเงินทุนและจัดสรรทรัพยากรทางเศรษฐกิจไปสู่ภาคเศรษฐกิจต่างๆ รวมทั้งให้บริการทางการเงินและชำระเงินหลากหลายรูปแบบ ซึ่งระบบสถาบันการเงินที่พัฒนา มีประสิทธิภาพ และมีเสถียรภาพจึงจะช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจเติบโตได้อย่างยั่งยืน
นายกอบศักดิ์ ดวงดี เลขาธิการสมาคมธนาคารไทย ให้สัมภาษณ์พิเศษ การเงินธนาคาร ว่า เพื่อสนับสนุนให้ภาคธนาคารไทยพัฒนาอย่างมีประสิทธิภาพ สมาคมธนาคารไทยมุ่งส่งเสริมให้ธนาคารสมาชิกให้ความร่วมมือกัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการทำงานและประสิทธิภาพและเพิ่มโอกาสในการแข่งขันมากขึ้นซึ่งจะช่วยสนับสนุนให้เศรษฐกิจโตอย่างมั่นคงและมีเสถียรภาพผ่านแผนยุทธศาสตร์ 3 ปี “การจัดทำแผนยุทธศาสตร์ของ สมาคมธนาคารไทย เป็นการสร้างแผนและวิธีการปฏิบัติงานของภาคธนาคารให้มีมาตรฐานกลาง ทำให้การต่อเชื่อมต่างๆ มีความลื่นไหล สะดวก นอกจากนี้ ยังเป็นการวางเป้าประสงค์ หรือเป้าหมายของการทำงานที่มีความชัดเจนมากขึ้น ซึ่งจะมีส่วนช่วยสร้างความเข้มแข็งให้ภาคธุรกิจโดยเฉพาะ SME ให้เข้าสู่วงจรธุรกิจได้ดีขึ้นและสามารถแข่งขันได้มากขึ้น”
เปิดแผน 3 ปี
ผลักดัน 4 ประเด็นหลัก
นายกอบศักดิ์กล่าวว่า สมาคมธนาคารไทย ได้วางแนวทาง (Roadmap) หรือแผนการพัฒนาระบบการเงินในช่วง 3 ปี (2566-2569) โดยปรับให้สอดคล้องบริบทของสถานการณ์ปัจจุบันมากขึ้น เพื่อรับมือความท้าทายและเพิ่มประสิทธิภาพการให้บริการ สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืน เสริมสร้างความเชื่อมั่นระบบการเงิน และยกระดับคุณภาพชีวิตคนไทยทุกคนพร้อมยกระดับการแข่งขันของประเทศไทย ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับโลก โดยขับเคลื่อนใน 4 ด้าน ดังนี้
ตลอดจนผลักดันการวางกรอบแนวทางสนับสนุน ระบบ Open Banking หรือ การสร้างกลไกให้ผู้ใช้บริการทางการเงินในฐานะเจ้าของข้อมูลสามารถบริหารจัดการข้อมูลที่มีอยู่ที่ธนาคารต่างๆ ผ่านช่องทางดิจิทัลได้สะดวกมากขึ้น
นอกจากนี้ ภาคธนาคารได้เปิดตัวการให้บริการ d-Statement หรือการรับส่งข้อมูลรายการเคลื่อนไหวของบัญชีเงินฝาก (Bank Statement) ในรูปแบบดิจิทัลระหว่างสถาบันการเงิน เพื่ออำนวยความสะดวก และลดต้นทุนของลูกค้า
“ระบบการชำระเงินดิจิทัลของประเทศไทยที่มีความเข้มแข็งมาก เป็นอันดับต้นๆ ของโลก ทั้งในด้านความสามารถของระบบและด้านปริมาณการใช้งาน เห็นได้จากการถอนเงินสดจาก ATM ที่ปัจจุบันลดลงอย่างมาก ขณะที่การโอนเงินผ่านช่องทางดิจิทัลปัจจุบันมากสุดสูงถึง 50 ล้านธุรกรรมต่อวัน ซึ่งการใช้ Digital Payment จะเป็นสิ่งที่ช่วยสร้างความสามารถในการแข่งขันของประเทศ อำนวยความสะดวกให้ประชาชน และสนับสนุนการเชื่อมต่อระหว่างประเทศด้วย”
โดยแพลตฟอร์ม NDTP ถูกพัฒนาด้วยเทคโนโลยีบล็อกเชน (Blockchain) และดำเนินการโดย บริษัท เนชั่นแนล ไอทีเอ็มเอ๊กซ์ จำกัด (NITMX) ซึ่งปัจจุบันเป็นผู้พัฒนาและให้บริการโครงสร้างพื้นฐานการชำระเงินของไทย รวมทั้ง PromptPay และได้ขยายบริการไปยังโครงสร้างพื้นฐานการค้าและการให้สินเชื่อ ทั้ง PromptBiz และ Trade Document Registry (TDR) สำหรับธนาคาร เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงบริการทางการเงินในรูปแบบใหม่ๆ และสนับสนุนการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน NDTP เพื่อยกระดับความสามารถในการแข่งขันของประเทศไทยในเวทีการค้าโลกต่อไป
“แพลตฟอร์ม NDTP มีจุดมุ่งหมายเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการดำเนินงานของผู้ส่งออก ผู้นำเข้า และผู้เกี่ยวข้องอื่นๆ เพื่อให้การส่งออกนำเข้า ง่าย สะดวก รวดเร็วขึ้น ช่วยป้องกันการทำธุรกรรมในเชิงมิชอบหรือการทำธุรกรรมซ้ำซ้อน และช่วยเพิ่มโอกาสการเข้าถึงแหล่งทุนเพื่อการทำการค้าแก่กลุ่มผู้ประกอบการรายย่อยหรือ SMEs ในประเทศ”
นอกจากนี้ ยังได้มีการต่อยอดแพลตฟอร์ม NDTP สู่การพัฒนาแพลตฟอร์ม PromptTrade ซึ่งเป็นพัฒนาระบบการค้าระหว่างประเทศรูปแบบดิจิทัล (International Trade Digitization) ในส่วนต่อขยายจาก Trade Document Registry ด้านการให้บริการของธนาคาร และการเชื่อมโยงแลกเปลี่ยนข้อมูลผ่านระบบ Port Community System (PCS)
“แพลตฟอร์ม Promptrade เป็นการต่อยอดแพลตฟอร์ม NDPT เฟส 1 และต่อยอดในการทำ Trade Document Registry ซึ่งเป็นระบบที่ภาคธนาคารร่วมกันสร้างขึ้นเพื่อตรวจสองการทำ Double Financing หรือการที่ลูกค้านำเอกสารชุดเดียวกันมาขอสินเชื่อจากหลายธนาคาร ซึ่งจะส่งผลให้ภาคธนาคารเกิดความเสียหาย โดยโครงการนี้เปิดตัวมาประมาณ 2 ปี มีธนาคารเข้าร่วมแล้ว 8 ธนาคารและมีธุรกรรมเกิดขึ้นหลายแสนธุรกรรมแล้ว”
นายกอบศักดิ์กล่าวว่า นอกจากการพัฒนาโครงการต่างๆ แล้ว สมาคมธนาคารไทยยังได้สนับสนุนการผลักดันกรอบความร่วมมือทางเศรษฐกิจ เพื่อให้เกิดการสร้างความร่วมมือเรื่องการชำระเงินระหว่างประเทศในรูปแบบดิจิทัลเป็นมาตรฐานเดียวกัน รวมถึงผลัดดันการสร้างเครือข่าย Digital Trade ให้สามารถแชร์ข้อมูลระหว่างกัน ทำให้การทำ Digital Trade ในภูมิภาคเกิดได้เร็วขึ้น
นอกจากนี้ สมาคมจะร่วมกันแก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืน ยกระดับมาตรการทั้งก่อนและหลังเป็นหนี้ โดยสนับสนุนการจัดทำศูนย์กลางข้อมูลเครดิตให้สมบูรณ์ รวบรวมข้อมูลเครดิตจากหน่วยงานต่างๆ ทั้งธนาคารและสถาบันการเงินที่ไม่ใช่ธนาคาร และสหกรณ์ออมทรัพย์ เพื่อสามารถแก้ปัญหาได้เบ็ดเสร็จ ควบคู่กับการให้ความรู้ทางการเงินและการเงินดิจิทัล รวมถึงสร้างกลไกในการเพิ่มวินัยทางการเงินและส่งเสริมการออมเงิน โดยเฉพาะการออมเผื่อเกษียณ
โดยอาศัยแพลตฟอร์มการเรียนรู้ออนไลน์ของสถาบันธนาคารไทย (Thai Banking Academy – TBAC) พร้อมยกระดับ TBAC ให้มีบทบาทเป็นศูนย์กลางระดับชาติด้านองค์ ความรู้และการวิจัยของอุตสาหกรรมการเงิน เพื่อให้บุคลากรในอุตสาหกรรมการเงิน มีสมรรถนะที่สามารถตอบโจทย์โลกการเงินในยุคดิจิทัลตามมาตรฐานสากล นำเสนอผลิตภัณฑ์ที่ตรงใจลูกค้ามากขึ้น สอดรับกับโมเดลธุรกิจของภาคธนาคารที่มุ่งสู่ดิจิทัล แบงกิ้ง และเน้นความคล่องตัวอย่างเต็มรูปแบบ
“ปัจจุบันธนาคารไทยมีความเข้มแข็งเมื่อเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน ขณะที่ระบบ Payment ก็มีความเข้มแข็ง การดำเนินงานของเรายังมีความก้าวหน้าโดยเฉพาะธนาคารหลักที่มีการปรับตัวที่ดีต่อโลกที่เปลี่ยนไป และยังสามารถขยายโอกาสในการทำงานออกสู่ภูมิภาคและดึงดูดให้ต่างชาติเข้ามาทำธุรกิจในไทยได้อีกด้วย”
6 ข้อเสนอ
ถึงรัฐบาลใหม่
นายกอบศักดิ์กล่าวว่า นอกจากบทบาทในการส่งเสริมธนาคารไทยแล้ว สมาคมธนาคารไทยยังมีบทบาทในการเสนอนโยบายต่อรัฐบาล ผ่านคณะกรรมการ่วมภาคเอกชน 3 สถาบัน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ แก้ไขปัญหาเศรษฐกิจ สังคม และลด ความเหลื่อมล้ำ และเพื่อเกิดการฟื้นตัวของเศรษฐกิจไทยอย่างรวดเร็วและยั่งยืน โดยปัจจุบัน สมาคมธนาคารไทยเตรียมข้อเสนอแนวทางการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของประเทศ ดังนี้
1. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน (Competitiveness)เช่นการสร้างโครงสร้างพื้นฐานและการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค การพิจารณาสิทธิประโยชน์ด้านการลงทุน การเร่งการเจรจา FTA ระหว่างไทยกับนานาชาติให้มากขึ้น การพัฒนาและต่อยอดโครงสร้างพื้นฐานทางการเงินของประเทศ เพื่อเพิ่มความสามารถในการแข่งขันของภาคธุรกิจ
รวมถึง เชื่อมโยงข้อมูลการค้า ข้อมูลการชำระเงิน และข้อมูลในระบบภาษีของภาครัฐอย่างครบวงจร มีมาตรการแก้ไขปัญหาต้นทุนวัตถุดิบราคาแพงและปัญหาการหยุดชะงักของห่วงโซ่อุปทาน (Supply Chain Disruption) และการพัฒนาระบบโครงสร้างพื้นฐานรองรับการพัฒนาและลงทุนในภาคอุตสาหกรรม
2. ความยากง่ายในการประกอบธุรกิจ(Ease of Doing Business) โดยปฏิรูปกฎหมายที่ล้าสมัยเพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ และสนับสนุนการเจรจากับประเทศคู่ค้าให้เกิดการเชื่อมโยงระบบโครงสร้างทางการเงินและการค้า
3. Digital Transformation โดยส่งเสริมการเป็น Technology Hub ของประเทศไทย ส่งเสริมให้เกิด Digital Transformation ในภาคธุรกิจอย่างกว้างขวาง ส่งเสริมการก้าวสู่ Cashless Society และ Digital Economy ที่อยู่บนโครงสร้างพื้นฐานการชำระเงินระบบ PromptPay และเร่งขับเคลื่อนนโยบายรัฐบาลดิจิทัล
4. การพัฒนามนุษย์ (Human Development)โดยการปรับอัตราตอบแทนค่าจ้างหรือค่าจ้างขั้นต่ำ การแก้ไขปัญหาการขาดแคลนแรงงานไทย การแก้ไขปัญหาแรงงานต่างด้าวของประเทศไทย การเพิ่มผลิตภาพแรงงาน (Labor Productivity) ควรกำหนดให้เป็นวาระแห่งชาติ โดยการสนับสนุนระบบการจ่ายค่าจ้างแรงงานตามทักษะฝีมือ (Pay by Skill) และการยกระดับมาตรฐานฝีมือแรงงานให้ได้มาตรฐานสากล สร้างข้อมูลภาครัฐให้เป็นข้อมูลขนาดใหญ่ (Big Data) เพื่อใช้ในการวางแผนและออกแบบนโยบายที่ตอบโจทย์ประชาชน
5. การสนับสนุนSMEs ทั้งในด้านการเข้าถึงแหล่งทุน การปรับโครงสร้างหนี้ที่สอดคล้องกับทิศทางรายได้ของธุรกิจและสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ ปลดล็อกให้ SMEs เข้าถึงผลิตภัณฑ์และบริการทางการเงินได้มากขึ้น รวมถึงลดความเหลื่อมล้ำในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน ซึ่งจะช่วยลดความเหลื่อมล้ำในความสามารถในการแข่งขันกับธุรกิจรายใหญ่ จัดตั้งกองทุนพัฒนาผู้ประกอบการ SMEs สนับสนุนงบประมาณในการช่วยให้ผู้ประกอบการ SMEs สามารถพัฒนาและเข้าถึงบริการด้าน Digital service และ ออกมาตรการช่วยลดภาระตันทุนการผลิตให้แก่ SMEs ที่อยู่ในระบบภาษี
6. ความยั่งยืน(Sustainability) โดยขับเคลื่อนโมเดลเศรษฐกิจสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน หรือ BCG แก้ปัญหาหนี้ครัวเรือนอย่างยั่งยืน ส่งเสริมการรับซื้อไฟฟ้าจากพลังงานหมุนเวียน (Renewable Energy) ที่มีศักยภาพเพิ่มเติม ส่งเสริมและสนับสนุนการอนุรักษ์พลังงานหรือการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้พลังงานครอบคลุมทุกอุตสาหกรรม
“ตอนนี้ความคาดหวังของหน่วยงานต่างๆ ต่อสมาคมธนาคารไทยมีค่อนข้างสูง ดังนั้น งานของสมาคมธนาคารไทยตอนนี้ทั้งกว้างและลึกมากขึ้น ปริมาณงานต่างๆ ก็เพิ่มมากขึ้น เพราะบทบาทของเราคือสนับสนุนธุรกิจทั้งภาครัฐและเอกชน”
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : MB การเงินการธนาคาร
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลูกหนี้กำลังมีปัญหา เช่น จ่ายขั้นต่ำ จ่ายช้า กดบัตรเงินสดมาจ่ายคืนหนี้อื่น รายได้ไม่พอรายจ่าย ถ้าเห็นสัญญาณแบบนี้ไปคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย !!
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
ปิดหนี้ก่อนกำหนดได้ ไม่ต้องจ่าย Prepayment fee
Prepayment fee คือ ค่าปรับจากการไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกำหนด
ธปท. ห้ามเรียกเก็บ prepayment fee ในสินเชื่อภายใต้กำกับของ ธปท. ดังนี้
** ยกเว้นสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังเรียกเก็บ prepayment fee ได้ในกรณีรีไฟแนนซ์ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำในช่วง 3 ปีแรก
ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ต่อไปนี้ !! สถาบันการเงินและ Non-bank ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ยกเว้น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังสามารถเรียกเก็บค่าปรับรีไฟแนนซ์ได้ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา
หนี้ “ปรับ” ได้
ปัญหาหนี้มีทางออก เจ้าหนี้ต้องเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ ให้กับลูกหนี้ที่ยังไม่เคยได้รับการปรับโครงสร้างหนี้
1. เจ้าหนี้ต้องเสนอปรับโครงสร้างหนี้ (ก่อน 1 หลัง 1)
2. เจ้าหนี้ห้ามโอนขายหนี้ก่อนครบกำหนด 60 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ /กรณีให้เช่าซื้อหรือให้เช่าแบบ ลีสซิ่ง ต้องไม่บอกเลิกสัญญาหรือจำหน่ายทรัพย์ก่อนครบกำหนด 15 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
Chairman: Khun Wattanaron Witthayapraphakul (United Overseas Bank (Thai) Public Company Limited)
Coordinator: Khun Pattamaphon Thuansakul
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณวัฒนรณ วิทยประภากุล (ธนาคารยูโอบี)
ผู้ประสานงาน: คุณปัทมาพร เตือนสกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Than Siripokee (Acting Chairman)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
ประธาน: นายทัฬห์ สิริโภคี (รักษาการประธาน)
ผู้ประสานงาน: นางสาวศุภดา รัตนพงษ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายประทิน กิจจารุวรรรกุล (ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน)
ผู้ประสานงาน: นายธรรมนูญ หาญประสิทธิ์คำ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Atip Silpajikarn (Ayutthaya Capital Services Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายอธิป ศิลป์พจีการ (บริษัท อยุธยา แคปปิตอล เซอร์วิสเซส จำกัด)
ผู้ประสานงาน: นางสาววสุนทรี ไตรอุโฆษ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Phongthorn Phongsaksri (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายพงศ์ธร พงษ์ศักดิ์ศรี (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวนิภาพร ดาวขนอน
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายฐิติวร โชตยาภรณ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นายจิตติ วิจิตรบรรจง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณสุธีรา ศรีไพบูลย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณ สัมพันธนี อภัยพันธุ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
ประธาน: นางสาวพรรณทิพา หาญนรเศรษฐ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวทิพวรรณ บรรณจิรกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายเศรษฐรัฐ ณ นคร (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวมลฤดี ตีรรุ่งเรือง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Worawat Suwakon (The Siam Commercial Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Wichitra Tangsangkharom
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณ วรวัจน์ สุวคนธ์ (ธนาคารไทยพาณิชย์)
ผู้ประสานงาน: คุณวิจิตรา ตั้งสังขะรมย์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
ประธาน: นายพงศ์พิเชษฐ์ นานานุกูล (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นายวรัท อัตตะนันทน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Chatuphat Arunsiri
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณไพศาล เลิศโกวิทย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
ผู้ประสานงาน: คุณจตุพัฒน์ อรุณศิริ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
ประธาน: ดร.พชรพจน์ นันทรามาศ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: ดร.ฉมาดนัย มากนวล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
ประธาน: คุณพูนสิทธิ์ ว่องธวัชชัย (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณเสาวณีย์ รัตนกิจ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมโดยความเห็นชอบของสมาชิกซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานของสมาคมธนาคารไทย ดังนี้
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
Chairman: Khun Atis Ruchirawat (Krungsri Consumer)
Coordinator: Khun Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
ประธาน: นายอธิศ รุจิรวัฒน์ (กรุงศรี คอนซูมเมอร์)
ผู้ประสานงาน: นางสาวอัปสร สุทธาโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
ประธาน: นายกิตติชัย สิงหะ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวชุติภรณ์ จิรนันท์สุโรจน์/p>
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Acting Chairman: Khun Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Supawadee Soita
Objectives: The Club is established
รักษาการประธาน: คุณจีรณา รามสูต (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุภาวดี สร้อยตา
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Peeraphong Nithikhailaiwut (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณพีรพงศ์ นิธิไกลวุฒิ (ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุนิษา เนตรสว่าง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Prassanee Uiyamapan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Warintra Srithipakorn
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณปรัศนี อุยยามะพันธุ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรินทรา ศรีทิพากร
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
ประธาน: นางสาวอรนุช นำพูลสุขสันติ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวรุ่งรัตน์ รัตนราชชาติกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น