เทคโนโลยีดิจิทัลสามารถเชื่อมโลกการเงินและเศรษฐกิจจริงด้วยการเป็นเครื่องมือให้สถาบันการเงินผู้ให้บริการทางการเงินเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ
เทคโนโลยีดิจิทัล ได้รับนิยามจากสำนักงานราชบัณฑิตยสภาว่า คือ เทคโนโลยีที่เกี่ยวกับรูปแบบข้อมูลที่คอมพิวเตอร์สามารถจัดเก็บและจัดการได้ ขอบเขตที่คลุมความกว้างขวางนี้ทำให้ดิจิทัลสอดแทรกเป็นโครงสร้างพื้นฐานสำคัญที่สนับสนุนการดำเนินงานและการดำรงชีพในแทบทุกมิติ บทความนี้อาศัยกรอบแนวคิดจากประเด็น นัยของการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินที่มีต่อเศรษฐกิจไทย ของโครงการศึกษาวิจัย เรื่องเศรษฐกิจดิจิทัลของภาคการเงิน ภายใต้แผนงานอาเซียนในกระแสแห่งความพลิกผัน ระยะที่ 2 ด้วยทุนวิจัยจากสำนักงานการวิจัยแห่งชาติ มาอธิบายบทบาทของดิจิทัลในการเชื่อมโยงโลกเศรษฐกิจและโลกการเงิน
ก่อนอื่น ขอตั้งข้อสังเกตว่า เทคโนโลยีดิจิทัลเหมือนเครื่องมืออื่น ๆ ที่ถูกพัฒนา มีต้นทุนที่จะเข้าถึง และต้องอาศัยความคุ้นเคยและคุ้นชินในการนำมาใช้งาน เมื่อเวลาผ่านไป เทคโนโลยีก็จะถูกใช้งานอย่างแพร่หลาย ด้วยต้นทุนที่ถูกลง จนกระทั่ง ผู้ใช้งานเองก็สามารถใช้งานได้โดยที่ไม่จำเป็นต้องมีความรู้ความเข้าใจเชิงลึก ลักษณะเช่นนี้สอดคล้องกับการใช้งานดิจิทัลในภาคการเงิน ทั้งด้านผู้ให้บริการและผู้ใช้บริการทางการเงินที่มียอดการใช้งานเติบโตขึ้นมาก โดยเฉพาะธุรกรรมการชำระเงินที่ช่องทางดิจิทัลเป็นช่องทางหลักในปัจจุบัน การศึกษานี้จึงมุ่งอธิบายผลของการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินที่มีต่อเศรษฐกิจ โดยตอบคำถาม ดังนี้
1.นัยของการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินต่อแรงงานและธุรกิจคืออะไร?
นอกจากภาคการเงินจะเป็นสาขากิจกรรมทางเศรษฐกิจที่ส่งผลต่อการเติบโตของ GDP ของประเทศในทางตรงแล้ว การเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินยังมีส่วนสนับสนุนรายได้ประชาชาติของประเทศ ผ่านทั้งการยกระดับผลิตภาพรวมของธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจขนาดเล็ก และการยกระดับรายได้ของแรงงาน ดังนั้น การศึกษาชิ้นนี้จึงวัดผลของการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินที่มีต่อผลิตภาพของธุรกิจขนาดเล็กในกลุ่มตัวอย่างภาคบริการบางส่วน และผลของการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลยกระดับรายได้ของแรงงาน ก่อนที่จะประเมินผลกระทบในระดับมหภาคที่มีต่อ GDP ในภาพรวมของประเทศ เพื่อสะท้อนช่องว่างที่ยังเติมเต็มได้
2. ความรู้สึกของผู้ใช้บริการทางการเงินที่มีต่อการให้บริการทางการเงินเป็นอย่างไร ?
แนวทางหนึ่งที่จะเข้าใจภาพรวมของสถานการณ์การใช้งานบริการทางการเงินดิจิทัล คือ การประเมินกระแสความรู้สึกของสังคมที่มีต่อการใช้งาน รวมถึง แนวทางการให้บริการผ่านช่องทางดิจิทัล ซึ่งสามารถติดตามร่องรอยดิจิทัลได้ การหยั่งกระแสความรู้สึกดังกล่าว ทำให้การศึกษาชิ้นนี้ นำมาใช้กำหนดกลุ่มเป้าหมาย หลังเข้าใจถึงประเด็นปัญหา อุปสรรค ประโยชน์ และความคาดหวังของผู้ใช้บริการ ตลอดจน ความเพียงพอของการให้บริการ ประกอบการการคัดกรองกลุ่มเป้าหมายด้วยแบบสำรวจเบื้องต้น แล้วจึงสำรวจเชิงคุณภาพ
3. ปัจจัยที่จะทำให้เทคโนโลยีดิจิทัลสนับสนุนการเติบโตทางธุรกิจของ SMEs คืออะไร ?
ปัญหาของ SMEs มีลักษณะเฉพาะและหลากหลาย จึงต้องทำความเข้าใจที่มาของปัญหาก่อน จึงจะสามารถคัดกรองกลุ่มเป้าหมายที่สามารถได้รับประโยชน์จากการใช้เทคโนโลยีดิจิทัลทางการเงินเพื่อสนับสนุนการดำเนินธุรกิจ โดยในการสำรวจนั้น การเข้าถึงผู้ประกอบการ SMEs ทำให้สร้างองค์ความรู้ผ่านความเข้าใจอย่างลึกซึ้ง ซึ่งแม้แต่ละรายจะมีลักษณะเฉพาะ มีความแตกต่างทั้งในส่วนของขนาด ผลประกอบการ พื้นที่ สาขากิจกรรม และพื้นฐานความรู้ความเข้าใจต่อทักษะดิจิทัลในภาคการเงิน แต่ก็เปิดโอกาสให้สามารถประมวลปัญหา โอกาส และความคาดหวังที่มีร่วมกัน อันจะนำไปสู่การออกแบบนโยบายที่ตรงใจ SMEs ได้
4. สถาบันการเงินมีกลยุทธ์ในการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลเป็นอย่างไร ?
สถาบันการเงินมีการปรับตัวเพื่อเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัล ทั้งในบทบาทเชิงรุกเพื่อนำหน้าตลาด และในบทบาทเชิงรับ เพื่อป้องกันส่วนแบ่งการตลาดการให้บริการทางการเงินจากผู้เล่นรายใหม่ ๆ โดยเฉพาะในกลุ่มธุรกิจเทคโนโลยีที่มีจุดแข็งในการให้บริการลูกค้าแตกต่างออกไป กลไกการปรับตัวของภาคการเงินอาจจะมีรูปแบบมาตรฐานตามตัวอย่างกรณีศึกษาในต่างประเทศ แต่มุมมองของกลยุทธ์การปรับตัวในประเทศไทยที่การให้บริการทางการเงินมีความเป็นสถาบันอยู่คู่กับเศรษฐกิจไทยอย่างยาวนานจะมีความสำคัญในการต่อยอดเพื่อให้การเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินสามารถตอบโจทย์การเติบโตของเศรษฐกิจในภาพรวมได้เช่นกัน
5. แนวมาตรการและนโยบายที่จะส่งเสริมให้การเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินสนับสนุนการเติบโตของเศรษฐกิจควรเป็นอย่างไร ?
หลังจากเข้าใจทั้งมุมมองเชิงมหภาค กระแสสังคมที่มีต่อการให้บริการทางการเงินและการใช้บริการทางการเงินดิจิทัล ความรู้สึกเชิงลึกของกลุ่มเป้าหมาย ตลอดจน มุมมองของผู้ให้บริการในการปรับตัวเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลแล้ว การศึกษาจะสังเคราะห์แนวมาตรการและนโยบาย โดยถอดบทเรียนจากเครื่องมือที่ผู้ดำเนินนโยบายและระบบนิเวศการเงินไทยมีการใช้งานในการส่งเสริมการพัฒนาการของดิจิทัลในภาคการเงินและการรับมือกับความเสี่ยงที่เกิดขึ้นจากการใช้งานดิจิทัลในภาคการเงิน เพื่อจัดทำข้อเสนอแนะเชิงนโยบายที่ไม่เพียงจะตอบโจทย์ผู้กำกับดูแล แต่จะมีความสอดคล้องกับการดำเนินการของผู้ให้บริการ และตอบโจทย์ผู้ใช้บริการ
คำถามข้างต้นสะท้อนความสำคัญของเทคโนโลยีดิจิทัลในการยกระดับประสิทธิภาพการทำงานของภาคธุรกิจและการดำรงชีวิตของประชาชน ในส่วนต่อไปจะแลกเปลี่ยนถึงผลการศึกษาส่วนหนึ่งจากประเด็น นัยของการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินที่มีต่อเศรษฐกิจไทย โครงการเศรษฐกิจดิจิทัลของภาคการเงิน
การศึกษาผลของดิจิทัลผ่านรายได้ของแรงงาน
การศึกษาอาศัยข้อมูล สสช. จากแบบสำรวจภาวะการมีงานทำของประชากรและแบบสำรวจการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ประกอบการจากแบบสำรวจการมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถานประกอบการปี 2022 ครอบคลุม 46,071 ราย คิดเป็นประชากร 17,535,800 คน คือ ที่อยู่ เพศ สถานะสมรส การศึกษา รายได้ ตำแหน่งงานที่ทำ สาขากิจกรรมทางเศรษฐกิจ ประเภทของสถานที่ทำงาน จำนวนชั่วโมงการทำงาน รายได้ สถานะประกันสังคม การจดทะเบียนและการจัดทำบัญชีอย่างเป็นระบบของธุรกิจ
โดยพบความสัมพันธ์เชิงบวกอย่างชัดเจนระหว่างรายได้เฉลี่ยและสัดส่วนแรงงานที่มีคอมพิวเตอร์ในครัวเรือน ซึ่งความหลากหลายของการมีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลในครัวเรือนของแรงงานที่อยู่ในกิจกรรมในแต่ละสาขาเศรษฐกิจ สะท้อนโอกาสที่สามารถส่งเสริมให้บางสาขากิจกรรมสามารถยกระดับการใช้งานเทคโนโลยีดิจิทัล เพื่อยกระดับรายได้เพิ่มขึ้นได้ด้วย สำหรับความสัมพันธ์เชิงบวกระหว่างรายได้เฉลี่ยและสัดส่วนแรงงานที่มีสมาร์ตโฟนมีไม่ชัดเจนนัก เพราะการที่แรงงานเกือบทั้งหมดมีสมาร์ตโฟนใช้ แม้กระทั่งในสาขากิจกรรมที่มีการใช้งานน้อยที่สุด คือ ภาคเกษตรกรรมยังมีการใช้งานสูงกว่า 80% จึงอาจไม่สามารถแสดงถึงโอกาสจาการส่งเสริมการเข้าถึงสมาร์ตโฟนเพิ่มเติมอีกนัก ขณะที่ความสัมพันธ์ค่อนข้างบวกระหว่างค่าจ้างเฉลี่ยของแรงงานภาคเอกชนที่ธุรกิจอยู่ในระบบประกันสังคม มีการจดทะเบียน และมีการจัดทำระบบบัญชี ตามลำดับ แสดงว่าสถานประกอบการในภาคบริการที่มีรายได้ไม่สูงนัก อาทิ ภาคการค้า การโรงแรมและภัตตาคาร และการบริการอื่น ๆ อาจมีความประสงค์ในการไม่เข้าสู่ระบบ ซึ่งอาจเป็นข้อจำกัดในการเข้าถึงบริการทางการเงิน และย้อนกลับส่งผลต่อทั้งผลิตภาพของสถานประกอบการเองและรายได้ของแรงงานในที่สุด
เมื่อกำหนดสมมติฐานให้มีสัดส่วนชั่วโมงของแรงงานที่มีคอมพิวเตอร์ส่วนบุคคลเพิ่มขึ้น 2% ในสาขากิจกรรมทางเศรษฐกิจที่มีสัดส่วนดังกล่าวน้อยกว่า 50% และเพิ่มขึ้น 1% ในกลุ่มที่มีสัดส่วนดังกล่าวอย่างน้อย 50% โดยพบกว่าจะทำให้ Nominal GDP เพิ่มสูงขึ้น 0.64% โดยผลบวกมีมากที่สุดในสาขาการผลิต การเงิน บริการที่ส่วนใหญ่อยู่ในภาครัฐ คือ สาธารณสุข การศึกษา และการบริหารราชการ และภาคการค้า
การศึกษาผลของการเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินที่มีต่อผลิตภาพรวมของผู้ประกอบการ
การศึกษาอาศัยข้อมูล สสช. จากการสำรวจธุรกิจทางการค้าและบริการปี 2020 และแบบสำรวจการใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารของผู้ประกอบการจากแบบสำรวจมีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารในสถานประกอบการ ครอบคลุม 18,149 แห่ง คิดเป็นประชากร 1,524,762 แห่ง คือ จำนวนคนงาน ค่าตอบแทนแรงงาน ค่าใช้จ่าย สินค้าคงเหลือ รายรับ สินทรัพย์ถาวร การใช้งานระบบเครือข่ายการติดต่อสื่อสารแบบ Intranet / Extranet / LAN การใช้งาน Internet / Internet banking การสั่งซื้อสินค้าหรือบริการทาง Internet / การชำระค่าสินค้าหรือบริการผ่าน Internet / การขายสินค้าหรือบริการทาง Internet / การรับชำระค่าสินค้าหรือบริการผ่าน Internet และการจ้างบุคลากรสาขาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร ICT
โดยพบว่าผู้ประกอบการของธุรกิจขนาดใหญ่มีโอกาสที่จะเข้าถึงบริการและผลิตภัณฑ์ทางการเงินมากกว่าจึงได้รับประโยชน์จากการเงินดิจิทัลมากกว่าอยู่แล้ว ดังนั้น การจะยกระดับผลบวกทางเศรษฐกิจจะมุ่งประเมินผลในกลุ่ม Micro SMEs ที่ใช้บริการทางการเงินน้อยกว่า แต่มีสัดส่วนผู้ประกอบการมาก โดยเฉพาะในภาคบริการ ซึ่งมีบทบาทของธุรกิจ Micro SMEs ที่ยังใช้บริการการเงินดิจิทัลไม่มากในเกือบทุกสาขากิจกรรม โดยเฉพาะยังขาดบุคลากรด้าน ICT ซึ่งมีต้นทุนค่าใช้จ่ายต่อหัวสูง ในสถานประกอบการที่มีการจ้างงานเฉลี่ยเพียง 2-4 คน
เมื่อกำหนดสมมติฐานว่าสัดส่วนของ Micro SMEs ที่ใช้บริการด้านการเงินดิจิทัล การซื้อขายสินค้าและบริการผ่านช่องทางออนไลน์ ตลอดจนมีการจ้างบุคลากรด้าน ICT เพิ่มขึ้น และมีผลการประมาณการทางเศรษฐมิติที่มีนัยสำคัญทางสถิติ โดยให้มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น 1% ถ้ามีสัดส่วนดังกล่าวมากกว่า 1% และให้มีสัดส่วนเพิ่มขึ้น 0.5% ถ้ามีสัดส่วนดังกล่าวน้อยกว่า 1% จะทำให้ Nominal GDP เพิ่มสูงขึ้น 0.18% โดยผลมากที่สุดในสาขาการการค้า ผ่านช่องทางการขายสินค้าและบริการออนไลน์และการรับชำระเงินออนไลน์ สะท้อนผลบวกของการใช้เครื่องมือด้านดิจิทัลในภาคการเงินที่มีต่อบางสาขาในภาคบริการ แต่ยังอยู่บนการใช้บริการที่มีอยู่ในปัจจุบันแต่ยังไม่รวมถึงผลบวกในการเปลี่ยนผ่านของภาคการเงินซึ่งอาจสามารถยกระดับผลิตภาพของธุรกิจและแรงงานได้อีกมาก โดยเฉพาะในกลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงหรือยังได้รับบริการทางการเงินไม่เพียงพอ
ผลการศึกษานี้สะท้อนบทบาทของดิจิทัลในการสนับสนุนรายได้ประชาชาติของประเทศ ผ่านทั้งการยกระดับรายได้ของแรงงานโดยเฉพาะผ่านการใช้งานคอมพิวเตอร์ในครัวเรือนซึ่งสะท้อนการใช้งานเทคโนโลยีเพื่อการทำงาน และการยกระดับผลิตภาพรวมของธุรกิจ โดยเฉพาะธุรกิจขนาดเล็กในภาคบริการที่ยังมีการใช้บริการทางการเงินผ่านช่องทางดิจิทัลอย่างจำกัด และมีข้อสังเกตว่า ธุรกิจบางส่วนที่ยังอยู่นอกระบบประกันสังคม การจดทะเบียนธุรกิจ และการทำบัญชีอย่างเป็นระบบ อาจเป็นข้อจำกัดให้ไม่สามารถใช้บริการทางการเงินผ่านช่องทางดิจิทัลด้วยเช่นกัน
โดยสรุปแล้ว เทคโนโลยีดิจิทัลสามารถเชื่อมโลกการเงินและเศรษฐกิจจริงด้วยการเป็นเครื่องมือให้สถาบันการเงินผู้ให้บริการทางการเงินเพิ่มประสิทธิภาพในการให้บริการ ขณะที่ผู้ใช้บริการในวงกว้างสามารถใช้ประโยชน์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจทั้งในระดับบุคคลและในระดับธุรกิจ อย่างไรก็ดี แนวมาตรการและนโยบายที่จะส่งเสริมให้การเปลี่ยนผ่านสู่ดิจิทัลในภาคการเงินสามารถส่งเสริมให้เกิดการขยายตัวทางเศรษฐกิจอย่างทั่วถึงต้องออกแบบบนพื้นฐานของความเข้าใจกลุ่มเป้าหมาย เพราะกลุ่มที่มีความพร้อมและเข้าถึงทั้งบริการทางการเงินและดิจิทัลอยู่แล้ว คงไม่ใช่กลุ่มที่จะช่วยปิดช่องว่างการเจริญเติบโตของประเทศได้ ขณะที่การสนับสนุนกลุ่มที่ยังเข้าไม่ถึงบริการทางการเงินอย่างเพียงพอ อาจจะทำได้ยาก เพราะมักจะเป็นกลุ่มที่กลไกตลาดไม่สามารถทำงานรองรับได้อยู่ก่อน เป็นโจทย์ที่ท้าทายและต้องอาศัยกลไกในทางปฏิบัติอีกมาก
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : SCB EIC brief โดย ดร.นครินทร์ อมเรศ
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลูกหนี้กำลังมีปัญหา เช่น จ่ายขั้นต่ำ จ่ายช้า กดบัตรเงินสดมาจ่ายคืนหนี้อื่น รายได้ไม่พอรายจ่าย ถ้าเห็นสัญญาณแบบนี้ไปคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย !!
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
ปิดหนี้ก่อนกำหนดได้ ไม่ต้องจ่าย Prepayment fee
Prepayment fee คือ ค่าปรับจากการไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกำหนด
ธปท. ห้ามเรียกเก็บ prepayment fee ในสินเชื่อภายใต้กำกับของ ธปท. ดังนี้
** ยกเว้นสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังเรียกเก็บ prepayment fee ได้ในกรณีรีไฟแนนซ์ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำในช่วง 3 ปีแรก
ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ต่อไปนี้ !! สถาบันการเงินและ Non-bank ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ยกเว้น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังสามารถเรียกเก็บค่าปรับรีไฟแนนซ์ได้ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา
หนี้ “ปรับ” ได้
ปัญหาหนี้มีทางออก เจ้าหนี้ต้องเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ ให้กับลูกหนี้ที่ยังไม่เคยได้รับการปรับโครงสร้างหนี้
1. เจ้าหนี้ต้องเสนอปรับโครงสร้างหนี้ (ก่อน 1 หลัง 1)
2. เจ้าหนี้ห้ามโอนขายหนี้ก่อนครบกำหนด 60 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ /กรณีให้เช่าซื้อหรือให้เช่าแบบ ลีสซิ่ง ต้องไม่บอกเลิกสัญญาหรือจำหน่ายทรัพย์ก่อนครบกำหนด 15 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
Chairman: Khun Wattanaron Witthayapraphakul (United Overseas Bank (Thai) Public Company Limited)
Coordinator: Khun Pattamaphon Thuansakul
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณวัฒนรณ วิทยประภากุล (ธนาคารยูโอบี)
ผู้ประสานงาน: คุณปัทมาพร เตือนสกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Than Siripokee (Acting Chairman)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
ประธาน: นายทัฬห์ สิริโภคี (รักษาการประธาน)
ผู้ประสานงาน: นางสาวศุภดา รัตนพงษ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายประทิน กิจจารุวรรรกุล (ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน)
ผู้ประสานงาน: นายธรรมนูญ หาญประสิทธิ์คำ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Atip Silpajikarn (Ayutthaya Capital Services Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายอธิป ศิลป์พจีการ (บริษัท อยุธยา แคปปิตอล เซอร์วิสเซส จำกัด)
ผู้ประสานงาน: นางสาววสุนทรี ไตรอุโฆษ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Phongthorn Phongsaksri (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายพงศ์ธร พงษ์ศักดิ์ศรี (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวนิภาพร ดาวขนอน
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายฐิติวร โชตยาภรณ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นายจิตติ วิจิตรบรรจง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณสุธีรา ศรีไพบูลย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณ สัมพันธนี อภัยพันธุ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
ประธาน: นางสาวพรรณทิพา หาญนรเศรษฐ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวทิพวรรณ บรรณจิรกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายเศรษฐรัฐ ณ นคร (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวมลฤดี ตีรรุ่งเรือง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Worawat Suwakon (The Siam Commercial Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Wichitra Tangsangkharom
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณ วรวัจน์ สุวคนธ์ (ธนาคารไทยพาณิชย์)
ผู้ประสานงาน: คุณวิจิตรา ตั้งสังขะรมย์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
ประธาน: นายพงศ์พิเชษฐ์ นานานุกูล (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นายวรัท อัตตะนันทน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Chatuphat Arunsiri
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณไพศาล เลิศโกวิทย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
ผู้ประสานงาน: คุณจตุพัฒน์ อรุณศิริ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
ประธาน: ดร.พชรพจน์ นันทรามาศ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: ดร.ฉมาดนัย มากนวล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
ประธาน: คุณพูนสิทธิ์ ว่องธวัชชัย (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณเสาวณีย์ รัตนกิจ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมโดยความเห็นชอบของสมาชิกซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานของสมาคมธนาคารไทย ดังนี้
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
Chairman: Khun Atis Ruchirawat (Krungsri Consumer)
Coordinator: Khun Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
ประธาน: นายอธิศ รุจิรวัฒน์ (กรุงศรี คอนซูมเมอร์)
ผู้ประสานงาน: นางสาวอัปสร สุทธาโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
ประธาน: นายกิตติชัย สิงหะ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวชุติภรณ์ จิรนันท์สุโรจน์/p>
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Acting Chairman: Khun Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Supawadee Soita
Objectives: The Club is established
รักษาการประธาน: คุณจีรณา รามสูต (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุภาวดี สร้อยตา
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Peeraphong Nithikhailaiwut (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณพีรพงศ์ นิธิไกลวุฒิ (ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุนิษา เนตรสว่าง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Prassanee Uiyamapan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Warintra Srithipakorn
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณปรัศนี อุยยามะพันธุ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรินทรา ศรีทิพากร
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
ประธาน: นางสาวอรนุช นำพูลสุขสันติ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวรุ่งรัตน์ รัตนราชชาติกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น