Press Release
การประชุมสภาที่ปรึกษาทางธุรกิจเอเปค ครั้งที่ 1/2022
ในปี 2022 ที่ประเทศไทยเป็นเจ้าภาพการจัดประชุมเอเปคนั้น ภาคเอกชนโดยสภาที่ปรึกษาทางธุรกิจเอเปค หรือ APEC Business Advisory Council – ABAC ได้มีการจัดประชุมร่วมกัน ซึ่งเป็นการจัดประชุมครั้งที่ 1 ประจำปี 2022 ระหว่างวันที่ 15-18 กุมภาพันธ์ 2565 ณ Resorts World Sentosa Convention Center ประเทศสิงคโปร์ โดยมีสมาชิกเช้าร่วมอย่างน้อย 300 คน จาก 21 เขตเศรษฐกิจสมาชิกเอเปค ภายใต้คำกล่าวในการประชุมครั้งนี้ คือ “การเปิดรับความท้าทาย ความร่วมมือร่วมใจ และการส่งเสริมโอกาส เป็นกุญแจสู่ความสำเร็จของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก” เพื่อยืนยันความตั้งใจในการทำงานร่วมกันต่อไปอย่างใกล้ชิด ในภูมิภาคที่มีความซับซ้อน ความสอดประสาน และการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
นายสุพันธุ์ มงคลสุธี ประธาน ABAC 2022 และประธานสภาอุตสาหกรรมแห่งประเทศไทย กล่าวว่า “ABAC 2022 ขับเคลื่อนภายใต้แนวคิด EMBRACE ENGAGE ENABLE โดยภาคเอกชนต่างตระหนักดีว่า ขณะนี้เป็นเวลาแห่งการเปลี่ยนแปลงของภาวะแวดล้อมทางธุรกิจอย่างรุนแรงและรวดเร็ว อย่างไรก็ตาม ก็เป็นช่วงเวลาแห่งโอกาส พวกเราสามารถยกระดับการทำงานร่วมกันโดยการ ร่วมมือกันเปิดรับความท้าทาย และขยายข้อจำกัด ให้ทุกสิ่งเป็นไปได้ เพื่อส่งเสริมศักยภาพของภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก”
ประธาน ABAC 2022 เปิดเผยว่า ระหว่างการประชุมร่วมกันระหว่าง ABAC และเจ้าหน้าที่อาวุโสเอเปค (SOM) นำโดยนายธานี ทองภักดี ปลัดกระทรวงการต่างประเทศของไทย ในฐานะประธาน SOM ซึ่งทาง ABAC ได้เน้นย้ำว่า “นี่คือวิถีทางที่จะนำไปสู่การเสริมสร้างภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิกให้เป็นภูมิภาคแห่งความเปิดกว้าง มีพลวัต มีความยืดหยุ่น และมีสันติภาพ ตามที่ผู้นำได้เล็งเห็นตามวิสัยทัศน์ปุตราจายา ค.ศ. 2040 (APEC Putrajaya Vision 2040) ซึ่งจะได้รับการผลักดันให้บรรลุผลโดยแผนปฏิบัติการเอาทีอารอ (Aotearoa Plan of Action) ที่กำหนดเริ่มดำเนินการในปีนี้”
ประธาน ABAC 2022 กล่าวว่า นับเป็นเกียรติอย่างยิ่งสำหรับ ABAC ที่ Mr.Gan Kim Yong รัฐมนตรีกระทรวงการค้าและอุตสาหกรรมของประเทศสิงคโปร์ ได้มาเป็นประธานกล่าวเปิดการประชุม
สำหรับประเด็นที่ ABAC ให้ความสำคัญ ประธาน ABAC 2022 กล่าวว่า การแพร่ระบาดของ COVID ยังคงดำเนินอยู่และเป็นข้อห่วงกังวลหลัก อย่างไรก็ตามในปีค.ศ. 2022 เป็นโอกาสที่จะเปิดรับความปกติรูปแบบใหม่ (New Normal) ด้วยการกลับมาเปิดพรมแดนอย่างปลอดภัย โดยมีการเข้าถึงวัคซีนอย่างเท่าเทียม มีแนวทางการเดินทางในภูมิภาคที่สอดคล้องกัน ตลอดจนความพยายามในการแก้ปัญหาภาวะชะงักงันของห่วงโซ่อุปทาน นอกจากนี้ยังสามารถเพิ่มความสามารถในการผลิต และการเจริญเติบโตโดยการส่งเสริมการปฏิรูปโครงสร้าง
ประธาน ABAC 2022 ชี้แจงว่า ในอนาคตบริบททางการค้าในภูมิภาคยังคงมีความสำคัญ “ผู้นำเอเปค ได้กำหนดเป้าหมายสู่การจัดตั้งเขตการค้าเสรี (Free Trade Area) ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก ซึ่งได้มีการวางรากฐานไว้แล้ว จำเป็นต้องมีการต่อเติมโครงสร้าง โดยต้องคำนึงถึงประเด็นด้าน ความยืดหยุ่น (Resilience) ความยั่งยืน (Sustainability) และความครอบคลุม (Inclusion) ที่ได้เรียนรู้มาจากการระบาดของ COVID ทั้งนี้ ABAC ต้องการเห็นองค์การการค้าโลก (World Trade Organization: WTO) มีความเข้มแข็งและมีบทบาทที่มากขึ้นจากการประชุมระดับรัฐมนตรีขององค์การการค้าโลก (WTO Ministerial Conference)ในปีนี้”
ประธาน ABAC 2022 กล่าวเสริมว่า “อีกหนึ่งประเด็นสำคัญคือการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ (Climate Change) โดย ABAC จะดำเนินการตาม Climate Leadership Principles ปี ค.ศ. 2021 เพื่อเตรียมรับกับการเปลี่ยนผ่านไปสู่เศรษฐกิจแบบคาร์บอนต่ำ เศรษฐกิจหมุนเวียน และเศรษฐกิจสีเขียว (BCG Economy) ในภูมิภาคเอเชีย-แปซิฟิก นอกจากนี้ ABAC จะยังผลักดันการจัดทำแผนการดำเนินงานสำหรับระบบอาหาร (Food System) ที่มีความยั่งยืน การใช้เทคโนโลยี และการเป็นมิตรกับการค้าภายใต้ APEC Food Security Roadmap ฉบับใหม่”
ท้ายที่สุดสิ่งที่จะส่งเสริมการดำเนินงานทั้งหมดคือ Digital Transformation “ ABAC ได้มีการจัดงาน Digital Trade Symposium และจะมีงานด้านดิจิตอลอื่นๆในปีนี้” เทคโนโลยีดิจิทัล (DIGITAL TECHNOLOGY) จะช่วยเร่งการฟื้นฟูเศรษฐกิจโดยคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม (Green Recovery) ช่วยขับเคลื่อนการขยายตัวทางการค้าและสร้างโอกาสใหม่ๆ อย่างไรก็ตาม เราต้องสร้างสภาพแวดล้อมและโครงสร้างพื้นฐานที่เอื้อต่อการเจริญเติบโต”
“นับเป็นความท้าทายต่อวิสาหกิจขนาดกลาง ขนาดย่อม และรายย่อย (MSMEs) ตลอดจนผู้ประกอบการผู้หญิง และกลุ่มต่างๆ ที่เสียเปรียบ แม้ MSMEs และกิจการที่มีผู้หญิงเป็นเจ้าของจะมีส่วนแบ่งที่มากที่สุดในภาคธุรกิจและการจ้างงาน แต่ก็ได้รับผลกระทบจากการแพร่ระบาดอย่างหนัก ถ้าสามารถเสริมสร้างความสามารถด้านดิจิตอลและทางเลือกต่างๆก็จะช่วยปลดปล่อยศักยภาพให้ผู้ประกอบการ ซึ่งผู้ประกอบการเหล่านี้จะมีบทบาทสำคัญอย่างยิ่งในการช่วยฟื้นฟูเศรษฐกิจในภาพรวม”
ประธาน ABAC 2022 ยังกล่าวต่อ ว่า “ ABAC สนับสนุนแถลงการณ์ของนายกรัฐมนตรีของไทย ที่กล่าวถึงสหรัฐอเมริกาจะเป็นเจ้าภาพ APEC ในปีค.ศ. 2023 และ เปรูจะเป็นเจ้าภาพในปี ค.ศ. 2024 ความพร้อมในการเป็นเจ้าภาพอย่างต่อเนื่องนี้มีความสำคัญอย่างยิ่งต่อความตั้งใจของ APEC ในการสร้างอนาคตทีดียิ่งขึ้น
“ABAC ขอเรียกร้องให้สมาชิกเขตเศรษฐกิจ APEC ช่วยอำนวยความสะดวกด้านการเปิดพรมแดนอย่างปลอดภัย เพื่อช่วยเร่งการฟื้นฟูทางเศรษฐกิจในภูมิภาคซึ่งมีความจำเป็นอย่างยิ่ง โดยเฉพาะสำหรับ MSME ที่ได้รับผลกระทบจากการจำกัดการเคลื่อนย้ายของผู้คน”
“ผมพร้อมแล้วที่จะทำงานร่วมกับเพื่อนๆ ABAC และทุกภาคส่วนในภูมิภาคเพื่อแสดงให้เห็นว่า APEC เปิดกว้างสำหรับธุรกิจ และมีความพร้อมในการดำเนินการทั้งในปีนี้และในอนาคต” ประธาน ABAC 2022 กล่าวสรุป
ในระหว่างการประชุมในครั้งนี้ มีการประชุมของคณะทำงานจำนวน 5 คณะ โดยมีข้อสรุปประเด็นสำคัญในการผลักดันในปีนี้ ได้แก่
1. Regional Economic Integration Working Group (REIWG)
Working Group Chair: Lam Yi Young, ABAC Singapore
2. Digital Working Group (DWG)
Working Group Chair: Jan De Silva, ABAC Canada
3. MSME and Inclusiveness Working Group (MSMEWG)
Working Group Chair: Dato Rohana Mahmood, ABAC Malaysia
4. Sustainability Working Group (SWG)
Working Group Chair: Frank Ning Gaoning, ABAC China
5. Finance and Economics Working Group (FEWG)
Working Group Chair: Hiroshi Nakaso, ABAC Japan
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลูกหนี้กำลังมีปัญหา เช่น จ่ายขั้นต่ำ จ่ายช้า กดบัตรเงินสดมาจ่ายคืนหนี้อื่น รายได้ไม่พอรายจ่าย ถ้าเห็นสัญญาณแบบนี้ไปคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย !!
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
ปิดหนี้ก่อนกำหนดได้ ไม่ต้องจ่าย Prepayment fee
Prepayment fee คือ ค่าปรับจากการไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกำหนด
ธปท. ห้ามเรียกเก็บ prepayment fee ในสินเชื่อภายใต้กำกับของ ธปท. ดังนี้
** ยกเว้นสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังเรียกเก็บ prepayment fee ได้ในกรณีรีไฟแนนซ์ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำในช่วง 3 ปีแรก
ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ต่อไปนี้ !! สถาบันการเงินและ Non-bank ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ยกเว้น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังสามารถเรียกเก็บค่าปรับรีไฟแนนซ์ได้ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา
หนี้ “ปรับ” ได้
ปัญหาหนี้มีทางออก เจ้าหนี้ต้องเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ ให้กับลูกหนี้ที่ยังไม่เคยได้รับการปรับโครงสร้างหนี้
1. เจ้าหนี้ต้องเสนอปรับโครงสร้างหนี้ (ก่อน 1 หลัง 1)
2. เจ้าหนี้ห้ามโอนขายหนี้ก่อนครบกำหนด 60 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ /กรณีให้เช่าซื้อหรือให้เช่าแบบ ลีสซิ่ง ต้องไม่บอกเลิกสัญญาหรือจำหน่ายทรัพย์ก่อนครบกำหนด 15 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
Chairman: Mr.Luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายลือศักดิ์ สุขเกษม (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวนิภาพร ดาวขนอน
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายสัณฑ์ เถาสุวรรณ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาววสุนทรี ไตรอุโฆษ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
ประธาน: ดร.วศิน อุดมรัชตวนิชย์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวแม้นเดือน เอี่ยมบรรณพงษ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
รักษาการประธาน: นางสาวจีรณา รามสูต (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวนาทชนก อายุคง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
ประธาน: นางสาววราณี วรรณรัตน์ (ธนาคารทหารไทยธนชาต จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวสุนิษา เนตรสว่าง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
ประธาน: นางสาวพรรณทิพา หาญนรเศรษฐ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวทิพวรรณ บรรณจิรกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
ประธาน: นางสาวพรวลัย กุลโรจน์เสฏฐ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: -
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
ประธาน: ดร.พชรพจน์ นันทรามาศ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: ดร.ฉมาดนัย มากนวล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
ประธาน: นางสาวอรนุช นำพูลสวัสดิ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวรุ่งรัตน์ รัตนราชชาติกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายประทิน กิจจารุวรรรกุล (ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นายธรรมนูญ หาญประสิทธิ์คำ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายฐิติวร โชตยาภรณ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นายจิตติ วิจิตรบรรจง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
ประธาน: นายเศรษฐรัฐ ณ นคร (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
: นางสาวสุชาณี ลวนะวณิช (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวมลฤดี ตีรรุ่งเรือง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
ประธาน: นายอฑิศ รุจิรวัฒน์ (บริษัท อยุธยา แคปปิตอล เซอร์วิสเซส จำกัด)
ผู้ประสานงาน: นางสาวอัปสร สุทธาโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr Tiravat Assavapokee (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
ประธาน: นายกิติพงศ์ มุตตามระ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวมนิษา เรืองศรี
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
ประธาน: นายพงศ์พิเชษฐ์ นานานุกูล (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นายวรัท อัตตะนันทน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
ประธาน: นายกิตติชัย สิงหะ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวชุติภรณ์ จิรนันท์สุโรจน์/p>
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
ประธาน: นายไพศาล เลิศโกวิทย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน)
ผู้ประสานงาน: นางสาวกฤษณี ดิศแพทย์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
ประธาน: นายทัฬห์ สิริโภคี (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวศุภดา รัตนพงษ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
ประธาน: นางสาวสุธีรา ศรีไพบูลย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: นางสาวสัมพันธนี อภัยพันธุ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
ประธาน: คุณพูนสิทธิ์ ว่องธวัชชัย (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณเสาวณีย์ รัตนกิจ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมโดยความเห็นชอบของสมาชิกซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานของสมาคมธนาคารไทย ดังนี้