ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.) จัดงาน BOT Digital Finance Conference 2023 ภายใต้แนวคิด Building Ecosystem for Responsible Innovation ระหว่างวันที่ 14 – 15 กันยายน 2566 ณ ศูนย์การเรียนรู้ ธปท. โดยเชิญผู้เชี่ยวชาญ 85 รายจาก 15 ประเทศ มาร่วมแลกเปลี่ยนประสบการณ์และแนวคิดในการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานการเงินดิจิทัล การปรับใช้นวัตกรรมต่าง ๆ ในภาคการเงิน โดยเฉพาะ Artificial Intelligence (AI) การใช้ประโยชน์จาก Open Data และการสนับสนุนนวัตกรรมที่ดูแลความเสี่ยงบนพื้นฐานของความรับผิดชอบต่อสังคมโดยรวม (responsible innovation)
ทั้งนี้ การเสวนาเวทีหลักในวันที่ 14 กันยายน 2566 มีประเด็นสำคัญ ดังนี้
นายเศรษฐพุฒิ สุทธิวาทนฤพุฒิ ผู้ว่าการ ธปท. ได้หยิบยกหลักการ 3 O’s (Open Competition, Open Infrastructure และ Open Data) ว่า ยังคงเป็นพื้นฐานสำคัญของการพัฒนาระบบนิเวศที่ส่งเสริมให้เกิด responsible innovation ทั้งนี้ ในอนาคต ธปท. จะให้ความสำคัญกับ 3 ประเด็นหลัก ได้แก่
(1) การพัฒนา common utility ที่เป็นเสมือนบริการสาธารณะของภาคการเงินดิจิทัล โดยเริ่มจากการเพิ่มศักยภาพของผู้ใช้บริการทางการเงินด้วยการส่งเสริมสิทธิของผู้ใช้บริการในการส่งข้อมูลของตน ที่อยู่กับผู้ให้บริการทางการเงินแต่ละราย ไปให้ผู้ให้บริการรายอื่นได้ (data portability) เพื่อให้ผู้ใช้บริการดังกล่าวสามารถเข้าถึงบริการหรือแหล่งเงินทุนที่เหมาะสมกับความต้องการยิ่งขึ้น ด้วยต้นทุนที่เหมาะสม
ทั้งนี้ ธปท. จะปรับปรุงกฎเกณฑ์ที่เกี่ยวข้องและส่งเสริมการสร้างมาตรฐานในการรับส่งข้อมูลระหว่างผู้ให้บริการต่าง ๆ ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. เพื่อลดภาระต้นทุนและสร้างความเชื่อมั่นเกี่ยวกับความปลอดภัยในการรับส่งข้อมูลตามความยินยอมของผู้ใช้บริการ รวมทั้งจะสนับสนุนให้เกิดการรับส่งข้อมูลจากภาคส่วนอื่น ๆ นอกจากภาคการเงิน และพัฒนา use cases ที่สามารถใช้โครงสร้างพื้นฐานทางการเงินร่วมกันได้ เพื่อลดต้นทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในภาพรวม
(2) การพัฒนาระบบนิเวศด้านการชำระเงินดิจิทัลที่เพิ่มโอกาสในการเข้าถึงโครงสร้างพื้นฐานสำคัญโดยผู้เล่นที่หลากหลายและสนับสนุนให้ไทยก้าวสู่ less-cash society ด้วยการปรับปรุงกฎเกณฑ์และทบทวนโครงสร้างค่าธรรมเนียมที่เกี่ยวข้อง
(3) การพัฒนานวัตกรรมทางการเงินร่วมกับภาคธุรกิจภายใต้กรอบการดูแลความเสี่ยงที่เหมาะสม โดยมี New Sandbox ที่ยืดหยุ่นยิ่งขึ้น เปิดโอกาสให้ทดสอบ unregulated activities ที่เป็นประโยชน์ต่อประชาชน เช่น tokenization ที่ช่วยให้ SMEs สามารถเข้าถึงแหล่งเงินทุนได้ดีขึ้น และ programmability ที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพในการชำระเงิน
นอกจากนี้ ธปท. จะทำงานร่วมกับ stakeholders ที่เกี่ยวข้องเพื่อพัฒนาการใช้ AI ในภาคการเงิน เช่น การตรวจจับและป้องกัน fraud รวมทั้งการส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน
ทั้งนี้ ความร่วมมือจาก stakeholders ทุกภาคส่วนมีความสำคัญยิ่งต่อความสำเร็จในการผลักดัน priorities ข้างต้น ซึ่ง ธปท. หวังว่าจะได้ร่วมผลักดันประเด็นสำคัญเหล่านี้กับผู้เกี่ยวข้องอย่างใกล้ชิด
นายรณดล นุ่มนนท์ รองผู้ว่าการ ด้านเสถียรภาพสถาบันการเงิน ธปท. และผู้ร่วมเสวนาในหัวข้อ “Digital Infrastructure and Ecosystem for the Future of Financial Innovation” ได้เน้นย้ำ ประเด็นข้างต้น โดยเห็นร่วมกันว่า การจะผลักดันโครงสร้างพื้นฐานและสร้างระบบนิเวศที่สนับสนุนนวัตกรรมได้อย่างประสบความสำเร็จนั้น ต้องเริ่มจากการปรับ mindset ของทุกฝ่ายให้เปิดรับการใช้เทคโนโลยี ขณะที่ stakeholders ต้องมีวิสัยทัศน์ร่วมกันและสามารถประสานประโยชน์ระหว่างกันได้อย่างเหมาะสม
รวมทั้งต้องเสริมสร้างให้ประชาชนมีความรู้ทางการเงินและความเข้าใจเกี่ยวกับบริการทางการเงินที่ใช้เทคโนโลยีเป็นพื้นฐาน ตลอดจนสามารถจัดการกับภัยการเงินซึ่งเป็นความเสี่ยงที่มาพร้อมกับเทคโนโลยีได้
ผู้ร่วมเสวนาหัวข้อ “PromptBiz: Bringing Business and Financing up to the Next Level” เห็นว่า ระบบ PromptBiz จะช่วยให้ทำธุรกิจแบบดิจิทัลได้อย่างครบวงจร สามารถเชื่อมโยงข้อมูลการค้า การชำระเงิน และต่อยอดไปยังบริการอื่น เช่น การให้สินเชื่อ ช่วยลดค่าใช้จ่ายดำเนินงาน โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับการออกและจัดส่งเอกสารต่าง ๆ รวมทั้งช่วยเพิ่มประสิทธิภาพของกระบวนการทำธุรกิจ
เนื่องจากสามารถสอบเช็คข้อมูลระหว่างกันได้อย่างรวดเร็ว นอกจากนี้ การมี digital footprint ที่เชื่อถือได้ในระบบดังกล่าวยังจะช่วยเพิ่มโอกาสการเข้าถึงแหล่งเงินทุนให้ภาคธุรกิจ โดยเฉพาะ SMEs ด้วย ส่วนหน่วยงานภาครัฐก็สามารถเพิ่มประสิทธิภาพและปรับกระบวนการต่าง ๆ ให้เป็นดิจิทัลได้ เช่น การจัดซื้อจัดจ้าง
จากการเสวนาหัวข้อ “How Payment Innovation is Thriving in AI Era?” ผู้ร่วมเสวนาเห็นว่า ผู้ให้บริการสามารถนำ AI มาปรับใช้ในด้าน payment ได้ตั้งแต่พื้นฐานของการให้บริการ กล่าวคือ ทำให้ประชาชนสามารถใช้บริการได้ง่าย ปลอดภัย น่าเชื่อถือ และลดข้อกังวลจาก fraud รวมทั้งสามารถต่อยอดโดยใช้ AI วิเคราะห์ payment data เพื่อให้เข้าใจพฤติกรรมลูกค้าและสามารถพัฒนาผลิตภัณฑ์ / บริการที่ตรงความต้องการยิ่งขึ้นได้ ทั้งนี้ ต้องคำนึงถึงประเด็นจริยธรรมและธรรมาภิบาลปัญญาประดิษฐ์ซึ่งเป็นความท้าทายสำคัญด้วย
สำหรับ Fireside chat เรื่อง “From Visions into Action: What’s Next for Open Data?” ผู้ร่วมเสวนาได้เน้นย้ำความสำคัญของสิทธิในการโอนย้ายข้อมูลส่วนบุคคลได้โดยปราศจากอุปสรรค (friction)
ทั้งนี้ ต้องปรับปรุงกฎเกณฑ์การกำกับดูแลให้เหมาะสม รวมทั้งสร้างแรงจูงใจให้ทั้งผู้ประกอบธุรกิจและประชาชนยอมรับแนวคิดเรื่อง open data โดยไม่จำเป็นต้องจำกัดไว้เฉพาะข้อมูลภาคการเงินเท่านั้น เนื่องจากยิ่งมีข้อมูลที่หลากหลายให้ต่อยอด จะยิ่งเป็นประโยชน์ ภาคการเงินจึงควรร่วมมือกับภาคธุรกิจอื่น ๆ เพื่อพัฒนา use case ที่เหมาะสมกับแนวคิด Open Data อย่างแท้จริง
นายชัชชาติ สิทธิพันธุ์ ผู้ว่าราชการกรุงเทพมหานคร ได้แบ่งปันประสบการณ์ของการพัฒนาให้กรุงเทพฯ เป็น “smart enough city” โดยใช้เทคโนโลยีเท่าที่เหมาะสม ตอบโจทย์ประชาชนได้ เน้นการเปิดเผยข้อมูลอย่างเต็มที่และการติดต่อราชการผ่านช่องทางดิจิทัล เพื่อเพิ่มความโปร่งใส สร้างความเชื่อมั่น และส่งเสริมการมีส่วนร่วมของภาคประชาชนในการพัฒนาเมือง
ปัจจุบัน กรุงเทพมหานคร (Bangkok Metropolitan Administration หรือ BMA) ได้เปิดเผยข้อมูลจากหน่วยงานในกรุงเทพฯ กว่า 1,050 ชุดข้อมูล เช่น งบประมาณประจำปี การจัดซื้อจัดจ้าง ข้อมูลชุมชนและประชากร ข้อมูลการจราจร พื้นที่สีเขียว เพื่อให้ประชาชนและหน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคเอกชนสามารถนำไปต่อยอดพัฒนาโครงการและนวัตกรรมต่าง ๆ ตลอดจนตรวจสอบความโปร่งใสในการดำเนินงานของ BMA ได้อย่างเต็มที่
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : MB Online
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลูกหนี้กำลังมีปัญหา เช่น จ่ายขั้นต่ำ จ่ายช้า กดบัตรเงินสดมาจ่ายคืนหนี้อื่น รายได้ไม่พอรายจ่าย ถ้าเห็นสัญญาณแบบนี้ไปคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย !!
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
ปิดหนี้ก่อนกำหนดได้ ไม่ต้องจ่าย Prepayment fee
Prepayment fee คือ ค่าปรับจากการไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกำหนด
ธปท. ห้ามเรียกเก็บ prepayment fee ในสินเชื่อภายใต้กำกับของ ธปท. ดังนี้
** ยกเว้นสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังเรียกเก็บ prepayment fee ได้ในกรณีรีไฟแนนซ์ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำในช่วง 3 ปีแรก
ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ต่อไปนี้ !! สถาบันการเงินและ Non-bank ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ยกเว้น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังสามารถเรียกเก็บค่าปรับรีไฟแนนซ์ได้ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา
หนี้ “ปรับ” ได้
ปัญหาหนี้มีทางออก เจ้าหนี้ต้องเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ ให้กับลูกหนี้ที่ยังไม่เคยได้รับการปรับโครงสร้างหนี้
1. เจ้าหนี้ต้องเสนอปรับโครงสร้างหนี้ (ก่อน 1 หลัง 1)
2. เจ้าหนี้ห้ามโอนขายหนี้ก่อนครบกำหนด 60 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ /กรณีให้เช่าซื้อหรือให้เช่าแบบ ลีสซิ่ง ต้องไม่บอกเลิกสัญญาหรือจำหน่ายทรัพย์ก่อนครบกำหนด 15 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
Chairman: Khun Wattanaron Witthayapraphakul (United Overseas Bank (Thai) Public Company Limited)
Coordinator: Khun Pattamaphon Thuansakul
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณวัฒนรณ วิทยประภากุล (ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณปัทมาพร เตือนสกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Than Siripokee (Acting Chairman)
Coordinator: Khun Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณทัฬห์ สิริโภคี (รักษาการประธาน)
ผู้ประสานงาน: คุณศุภดา รัตนพงษ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณประทิน กิจจารุวรรรกุล (ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณธรรมนูญ หาญประสิทธิ์คำ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Atip Silpajikarn (Ayutthaya Capital Services Company Limited)
Coordinator: Khun Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณอธิป ศิลป์พจีการ (บริษัท อยุธยา แคปปิตอล เซอร์วิสเซส จำกัด)
ผู้ประสานงาน: คุณวสุนทรี ไตรอุโฆษ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Oraphan Siritanyong (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณอรพรรณ ศิริตันหยง (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณนิภาพร ดาวขนอน
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Khun Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณฐิติวร โชตยาภรณ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณจิตติ วิจิตรบรรจง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณสุธีรา ศรีไพบูลย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสัมพันธนี อภัยพันธุ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Panabhand Hankijjakul (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Oraphan Ketlertprasert
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณปานะพันธ์ หาญกิจจะกุล (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณอรพรรณ เกตุเลิศประเสริฐ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Co Acting Chairman: Khun Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Co Acting Chairman: Khun Suchanee Lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
รักษาการประธาน: คุณเศรษฐรัฐ ณ นคร (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
รักษาการประธาน: คุณสุชาณี ลวนะวณิช (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณมลฤดี ตีรรุ่งเรือง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Worawat Suwakon (The Siam Commercial Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Wichitra Tangsangkharom
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณวรวัจน์ สุวคนธ์ (ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวิจิตรา ตั้งสังขะรมย์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Phattrapha Hongkumdee (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณภัทราภา หงษ์คำดี (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรัท อัตตะนันทน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Piyapong Sangpattarachait (Kasikornbank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Watchakan Sethaput
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณปิยะพงศ์ แสงภัทราชัย (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด(มหาขน))
ผู้ประสานงาน: คุณวัชกานต์ เศรษฐบุตร
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
ประธาน: ดร.พชรพจน์ นันทรามาศ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: ดร.ฉมาดนัย มากนวล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
ประธาน: คุณสุวิทย์ อินทรเฉลิม (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณศุภวัตร มะเส็ง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมโดยความเห็นชอบของสมาชิกซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานของสมาคมธนาคารไทย ดังนี้
Chairman: Khun Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
Chairman: Khun Atis Ruchirawat (Krungsri Consumer)
Coordinator: Khun Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณอธิศ รุจิรวัฒน์ (กรุงศรี คอนซูมเมอร์)
ผู้ประสานงาน: คุณอัปสร สุทธาโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Khun Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณกิตติชัย สิงหะ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณชุติภรณ์ จิรนันท์สุโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Acting Chairman: Khun Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Supawadee Soita
Objectives: The Club is established
รักษาการประธาน: คุณจีรณา รามสูต (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุภาวดี สร้อยตา
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Sureporn Tuncharuen (Siam Commercial Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณสุรีพร ตันจรูญ (ธนาคารทหารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุนิษา เนตรสว่าง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Prassanee Uiyamapan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Warintra Srithipakorn
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณปรัศนี อุยยามะพันธุ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรินทรา ศรีทิพากร
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณอรนุช นำพูลสุขสันติ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสาวรุ่งรัตน์ รัตนราชชาติกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น