บทความโดย ดร. นครินทร์ อมเรศ
สายกำกับระบบการชำระเงินและคุ้มครองผู้ใช้บริการทางการเงิน ธนาคารแห่งประเทศไทย
จากคอลัมน์ “บางขุนพรหมชวนคิด”
การเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศในระยะยาวขึ้นอยู่กับระดับการเติบโตเต็มศักยภาพโดยมีการใช้ทรัพยากรทั้งแรงงานและทุนอย่างมีประสิทธิภาพ ซึ่งต้องอาศัยการจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสมควบคู่กับการใช้ประโยชน์จากนวัตกรรมในการยกระดับผลิตภาพรวม บทความนี้มุ่งตอบคำถามว่าปัจจัยด้านนวัตกรรมได้ทำหน้าที่ในการสนับสนุนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของไทยในระยะยาวแล้วหรือไม่ ? ตลอดจน จะสามารถส่งเสริมนวัตกรรมเพื่อสนับสนุนการเติบโตทางเศรษฐกิจได้อย่างไร ?
ผลิตภาพรวมของไทยโตต่ำในอาเซียน แม้จะมีสต็อกทุนด้าน R&D และ ICT อยู่ในระดับสูง
ก่อนอื่น ขอหยิบยกตัวเลขค่าเฉลี่ยการขยายตัวของผลิตภาพรวม (Total Factor Productivity) ของไทยในช่วงปี 2015-2022 จากรายงาน APO Productivity Databook 2024[i] เพื่อสะท้อนให้เห็นสถานะของไทยในภูมิภาคว่า ผลิตภาพรวมของไทยในช่วงเวลาดังกล่าวเติบโตอยู่ในลำดับ 4 จาก 6 ประเทศ นำโดย เวียดนาม (1.8%) สิงคโปร์ (1.1%) มาเลเซีย (0.8%) ไทย (0.2%) ฟิลิปปินส์ (-0.2%) และ อินโดนีเซีย (-0.3%) ซึ่งหากมองย้อนกลับไปถึงครึ่งศตวรรษก่อน จะพบว่าดัชนีผลิตภาพรวมของไทยในปี 2022 คิดเป็น 1.04 เท่าเมื่อเทียบกับปี 1970 ใกล้เคียงกับ ฟิลิปปินส์ (0.97 เท่า) แต่ต่ำกว่า อินโดนีเซีย (1.05 เท่า) เวียดนาม (1.17 เท่า) สิงคโปร์ (1.63 เท่า) และ มาเลเซีย (1.69 เท่า) แสดงให้เห็นว่าปัญหาผลิตภาพรวมของไทยที่เติบโตในระดับต่ำไม่ใช่ปัญหาที่เพิ่งจะเกิดขึ้น แต่เป็นปัญหาเรื้อรังมาโดยตลอด
หากลองคาดเดาถึงสาเหตุของปัญหาดังกล่าว เชื่อว่าหลาย ๆ ท่าน คงเพ่งเล็งไปยังการลงทุนด้านวิจัยและพัฒนา (R&D) ของไทยว่ามีน้อยกว่าประเทศเพื่อนบ้านใช่หรือไม่ ? ซึ่งคำตอบที่ได้น่าจะทำให้แปลกใจอยู่ไม่น้อย เพราะรายงานฉบับเดียวกันนี้ได้แสดงให้เห็นว่าสต็อกทุนด้าน R&D ในปี 2022 ของไทยสูงถึง 5% ของ GDP ต่ำกว่าเพียง สิงคโปร์ (7%) และหากนับรวมถึงสต็อกทุนด้าน R&D และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ICT) ด้วยแล้วก็จะสูงถึง 16% ของ GDP น้อยกว่าเพียงแค่สิงคโปร์ (22%) ในกลุ่ม 6 ประเทศอาเซียน อย่างไรก็ดี สต็อกทุน ICT ของไทยที่อยู่ในระดับสูงมาจาก Hardware หรือ เครื่องจักร ชิ้นส่วน และอุปกรณ์ต่าง ๆ ซึ่งสูงถึง 10% ของ GDP ขณะที่ ในส่วนของ Software เช่น โปรแกรมหรือชุดคำสั่ง มีสต็อกทุนเพียง 1% ของ GDP ต่ำกว่าตัวเลขของสิงคโปร์และมาเลเซีย ที่ 9% และ 3% ตามลำดับ ปัญหาของไทยจึงน่าจะเกิดจากการประยุกต์ใช้ทุนที่มีอยู่ในการพัฒนา มากกว่าการขาดแคลนทุนรอนเป็นหลัก แล้วมุมมองของการพัฒนานวัตกรรมของไทยในระยะต่อไปเป็นอย่างไร ?
ทิศทางการลงทุนด้านนวัตกรรมในระยะยาวของไทยดูไม่สดใสเมื่อเทียบกับเพื่อนบ้าน
รายงาน e-Conomy SEA 2024[ii] ซึ่งเป็นโครงการวิจัยโดย Google, Temasek และ Bain & Company เพื่อประเมินพัฒนาการและทิศทางของ Internet Economy ในภูมิภาค ASEAN ได้จำแนกการลงทุนนอกตลาดหลักทรัพย์ (private equity) ในเศรษฐกิจดิจิทัลออกเป็น การท่องเที่ยว สื่อออนไลน์ การขนส่งและอาหาร e-Commerce บริการทางการเงินดิจิทัล และ สาขาเกิดใหม่ อาทิ Software, FinTech, HealthTech/MedTech และ AI/Deep Tech ซึ่งสาขาเกิดใหม่นี้มีสัดส่วนมูลค่าการลงทุนนอกตลาดหลักทรัพย์ในเศรษฐกิจดิจิทัลสูงถึง 46% ในปี 2023 และครึ่งแรกของปี 2024 จึงเป็นหัวรถจักรสำคัญในการผลักดันให้เศรษฐกิจดิจิทัลในภูมิภาคเติบโตในระยะต่อไป ซึ่งรายงานดังกล่าวได้สำรวจมุมมองของนักลงทุนที่มีต่อการลงทุนของแต่ละประเทศในสาขาเกิดใหม่ในช่วงปี 2025-2030 โดยพบว่า 80% ของนักลงทุนคาดว่าจะเห็นการลงทุนของแต่ละประเทศในนวัตกรรมสาขาเกิดใหม่เพิ่มมากขึ้นในเวียดนาม, 65% ของนักลงทุนคาดว่าจะเห็นการเพิ่มมากขึ้นในสิงคโปร์และอินโดนีเซีย, 60% ของนักลงทุนคาดว่าจะเห็นการเพิ่มมากขึ้นในมาเลเซียและฟิลิปปินส์ อย่างไรก็ตาม มีเพียง 40% ของนักลงทุนที่คาดว่าจะเห็นการลงทุนในนวัตกรรมสาขาเกิดใหม่เพิ่มมากขึ้นในไทย ซึ่งเมื่อเจาะลึกในส่วนของไทยแล้ว สัดส่วนการลงทุนในสาขาเกิดใหม่ที่เคยสูงถึง 15%, 55% และ 23% ในปี 2021-2023 ตามลำดับ ได้ปรับลดลงมาอยู่ที่เพียง 7% ในครึ่งแรกของปี 2024 จึงสอดคล้องกับมุมมองที่ไม่สดใสนักของนักลงทุนที่มีต่อการลงทุนด้านนวัตกรรมในระยะยาวของไทย
นโยบายในระยะสั้นและระยะยาว: นำเข้าแรงงานทักษะสูง และส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยผลิตบัณฑิตด้าน STEM
ภายใต้สถานการณ์ที่แรงส่งจากนวัตกรรมที่มีต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยทั้งในช่วงที่ผ่านมาและแนวโน้มในระยะต่อไปอยู่ในทิศทางที่แผ่วลงจากตัวเลขข้างต้น การหาทางออกจึงต้องอาศัยการทบทวนปัจจัยพื้นฐาน โดยพิจารณาทางเลือกจากชุดเครื่องมือทางนโยบายในการส่งเสริมการพัฒนานวัตกรรม โดยคำนึงถึงทั้งในมิติของผลประโยชน์สุทธิ ระยะเวลาที่ใช้ในการดำเนินการ ตลอดจนผลของการดำเนินนโยบายในการสร้างการเติบโตอย่างทั่วถึงผ่านการเติบโตแบบกระจายตัว ไม่ได้กระจุกตัวแค่บางภาคส่วน ซึ่งผลการศึกษาในเชิงวิชาการ[iii] ได้เสนอทางเลือกไว้หลายประการ อาทิ การสร้างแรงจูงใจทางภาษีให้ผู้ประกอบการลงทุน R&D, การให้เงินทุนอุดหนุด R&D, การสร้างแรงจูงใจให้มหาวิทยาลัยพัฒนานวัตกรรม ตลอดจนการส่งเสริมการค้าและการแข่งขัน ซึ่งบางทางเลือกอาจมีผลข้างเคียงเชิงลบ คือ ก่อให้เกิดการเติบโตแบบกระจุกตัว ผู้เขียนจึงขอคัดเลือกสองนโยบายที่ไม่ก่อให้เกิดปัญหาดังกล่าว ได้แก่
การนำเข้าแรงงานทักษะสูงเป็นนโยบายที่ดำเนินการได้ในระยะสั้นและมีผลประโยชน์สุทธิของนโยบายสูง และจะช่วยลดปัญหาความไม่สอดคล้องระหว่างทักษะที่ตลาดแรงงานต้องการกับทักษะที่แรงงานไทยมีอยู่ หรือปัญหา skill mismatch อันเป็นสาเหตุสำคัญอันหนึ่งที่ทำให้มีช่องว่างระหว่างรายได้ในไทย ดังนั้น การเติมแรงงานทักษะสูงจากต่างประเทศจะทำให้ตลาดแรงงานทักษะสูงมีความขาดแคลนน้อยลง จึงช่วยลดแรงกดดันต่อส่วนต่างของค่าจ้างระหว่างแรงงานทักษะสูงและแรงงานกลุ่มอื่นได้ นอกจากนี้การดึงดูดแรงงานทักษะสูงเข้ามาในประเทศจะทำให้เกิดการถ่ายทอดนวัตกรรมระหว่างแรงงานต่างชาติและแรงงานไทยอีกด้วย ซึ่งจะช่วยให้แรงงานไทยมีทักษะดีขึ้นและมีรายได้สูงขึ้น อย่างไรก็ดี ผลการศึกษาร่วมระหว่าง สกพอ. และ ธปท.[iv] แสดงให้เห็นว่า แรงงานต่างประเทศทักษะสูงยังคิดเป็นเพียงร้อยละ 8 ของแรงงานต่างประเทศทั้งหมด จึงเสนอให้สร้างแรงจูงใจดึงดูดแรงงานต่างชาติทักษะสูงในสาขาที่ขาดแคลน เช่น การปรับลดกฎระเบียบที่เป็นข้อจำกัด การให้แรงจูงใจเรื่องที่อยู่อาศัย การจ้างงาน การสนับสนุนด้านการศึกษาและความเป็นอยู่ของครอบครัว เพื่อนำเข้าแรงงานทักษะสูงทั้งจากต่างชาติและจากคนในประเทศที่ไปทำงานในต่างประเทศให้กลับมาพัฒนาประเทศ
การส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยผลิตบัณฑิตด้าน STEM (วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิศวกรรมศาสตร์ และคณิตศาสตร์) เป็นนโยบายในระยะยาวและมีผลประโยชน์สุทธิของนโยบายปานกลาง เนื่องจากต้องใช้ทรัพยากรทั้งเงินทุนและระยะเวลาในการดำเนินการสูง แต่นับว่ามีความจำเป็นอย่างยิ่งและจะมีส่วนในการวางรากฐานสำคัญในการแก้ปัญหาให้กับประเทศได้อย่างยั่งยืน โดยผลการศึกษาของ TDRI[v] ได้เสนอให้ใช้ประโยชน์จากข้อมูลทะเบียนแรงงานไทยที่หน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ได้จัดเก็บ ตลอดจน มีหน่วยงานกลางของประเทศที่พัฒนาระบบการให้บริการด้านการเชื่อมโยงข้อมูลตามแนวทาง Data Exchange Center เพื่อสร้างความร่วมมือในการแลกเปลี่ยนข้อมูลในการผลิตบัณฑิตด้าน STEM โดยต้องเริ่มมาตั้งแต่ต้นน้ำที่กระทรวงศึกษาธิการ ในการพัฒนาให้นักเรียนในระดับเตรียมอุดมศึกษามีพื้นฐานด้านคณิตศาสตร์และวิทยาศาสตร์เพียงพอ ต่อเนื่องมาที่การผลิตบัณฑิตด้าน STEM ของกระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม จนไปถึงข้อต่อปลายน้ำที่กระทรวงแรงงานและกระทรวงด้านเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้อง ซึ่งมีหน้าที่กำหนดทิศทางกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศ ตลอดจนกำหนดทักษะที่จำเป็นเพื่อสะท้อนโจทย์กลับไปให้หน่วยงานต้นน้ำและกลางน้ำในการสร้างคนเพื่อตอบโจทย์สอดคล้องกับการพัฒนาประเทศมากขึ้น
โดยสรุปแล้ว การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยยังต้องการแรงส่งเพิ่มเติมจากนวัตกรรม ซึ่งเป็นปัจจัยสำคัญแห่งความสำเร็จของการพัฒนาประเทศ ซึ่งแม้สต็อกทุนด้าน R&D และ ICT ของไทยจะอยู่ในระดับสูงโดยเปรียบเทียบกับประเทศเพื่อนบ้าน แต่ทิศทางการลงทุนในสาขานวัตกรรมเกิดใหม่กลับดูไม่สดใส จึงมีความจำเป็นที่ไทยต้องกลับไปมองปัญหาที่รากฐาน และพิจารณานโยบายที่สร้างการเติบโตได้อย่างกระจายตัว อาทิ การนำเข้าแรงงานทักษะสูงและการส่งเสริมให้มหาวิทยาลัยผลิตบัณฑิตด้าน STEM ซึ่งต้องอาศัยการทำงานร่วมกันในการกำหนดทิศทางการพัฒนาของประเทศควบคู่ไปกับการดำเนินนโยบายพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ เพื่อให้นวัตกรรมและทักษะแรงงานสามารถขับเคลื่อนการเติบโตทางเศรษฐกิจของไทยได้อย่างยั่งยื
ขอขอบคุณแหล่งที่มา : MB การเงินการธนาคาร
Chairman: Mr. Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Than Siripokee (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Paisarn Lertkowit (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Kristsanee Disapad
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Ms. Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Pongpichet Nananukool (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Kitipong Muttamara (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Manisa Rueangsri
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Atis Ruchirawat Ayudhya Capital Services Co., Ltd.
Coordinator: Ms. Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Mr. Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
: Ms. Suchanee.lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: K. Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Pornvalai Kulrojseth (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: -
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Puntipa Hannoraseth (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Tippawan Bannajirakul
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Ms. Waranee Wanrat (TMBThanachart Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Acting Chairman: Ms. Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Natchanok Aryukong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Dr. Vasin Udomratchatavanich Bank of Ayudhya Public Company Limited
Coordinator: Ms. Manduan Aeambunapong
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. Sant Thaosuwan (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
Chairman: Mr. luesak Sukasem (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Ms. Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
This will close in 500 seconds
ธรรมาภิบาล(Governance) : มีระบบการกำกับดูแลกิจการที่ดี และดำเนินการกำกับดูแลได้อย่างมีประสิทธิผลในระดับคณะกรรมการ โดยกำหนดภาระและขอบเขตความรับผิดชอบที่ชัดเจนในระดับการจัดการในเรื่องที่เกี่ยวกับสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
ยุทธศาสตร์ (Strategy) : บูรณาการพันธกิจด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล เข้ากับยุทธศาสตร์การดำเนินธุรกิจและกำหนดกรอบด้านการเงินที่ยั่งยืน โดยสนับสนุนเพื่อให้ประเทศสามารถเปลี่ยนผ่านไปสู่เป้าหมายการปล่อยก๊าซเรือนกระจกสุทธิเป็นศูนย์ได้อย่างราบรื่น
This will close in 500 seconds
การบริหารความเสี่ยงด้านสิ่งแวดล้อม สังคมและธรรมาภิบาล (ESG Risk Management) : ผนวกรวมประเด็นด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล ไว้ในกระบวนการบริหารความเสี่ยง
This will close in 500 seconds
ผลิตภัณฑ์ทางการเงิน(Financial Products) : ปรับใช้เทคโนโลยีดิจิทัลเพื่อส่งเสริมการเข้าถึงบริการทางการเงิน รวมทั้งนวัตกรรมทางการเงินที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมและยั่งยืน
This will close in 500 seconds
การสื่อสาร (Communication) : สื่อสารและประสานความร่วมมือกับผู้มีส่วนได้เสียทุกภาคส่วนในการสร้างจิตสำนึกสาธารณะด้านสิ่งแวดล้อม สังคม และธรรมาภิบาล
This will close in 500 seconds
การเปิดเผยข้อมูลทางการเงิน (Disclosure) : พัฒนาระบบการติดตามและการรายงานที่สอดคล้องกับกรอบการกำกับดูแลของประเทศไทยและมาตรฐานการเปิดเผยข้อมูลด้านความยั่งยืนในระดับสากล
This will close in 500 seconds
ตัวอย่าง
ใช้บัตรกดเงินสด
วงเงินหมุนเวียน 15,000 บาท
ผ่อนขั้นต่ำ (3%) มาแล้ว 5 ปี
เหลือจ่ายเงินต้นอีก 8,700 บาท
ทางเลือกที่ 1 : ผ่อนขั้นต่ำต่อไปจนครบ ดอกเบี้ย 25% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 13 ปี 5 เดือน
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 14,000 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 29,000 บาท
ทางเลือกที่ 2 : เข้าโครงการแก้หนี้เรื้อรัง ดอกเบี้ย 15% ต่อปี ผ่อนต่ออีก 3 ปี 6 เดือน (เดือนละ 260 บาท)
เหลือจ่ายดอกเบี้ยอีก 2,500 บาท
ดอกเบี้ยรวมทั้งสัญญา 17,500 บาท
*ประหยัดดอกเบี้ยได้ 11,500 บาท*
หมายเหตุ: ผ่อนเดือนละ 260 บาท เท่ากับยอดการผ่อนขั้นต่ำ ณ เดือนสุดท้ายของปีที่ 5 ก่อนเข้าโครงการ
3 เรื่องต้องรู้ก่อนเข้าร่วมมาตรการปิดจบ หนี้เรื้อรัง
**สามารถขอออกจากมาตรการได้ แต่จะไม่ได้รับสิทธิแก้หนี้ตามเงื่อนไขเดิม**
ตอบข้อสงสัย มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(1) ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
(2) ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
(3) การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
ทำไมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง ไม่รวมหนี้บัตรเครดิต?
เพราะหนี้บัตรเครดิตมี (1) อัตราดอกเบี้ย และ (2) เงื่อนไขการผ่อนชำระที่ทำให้ไม่เข้าข่ายหนี้เรื้อรังที่จ่ายดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้นและใช้เวลานานในการปิดจบ
ลูกหนี้บัตรเครดิตจ่ายขั้นต่ำที่ 8% ทำให้จ่ายชำระเงินต้นมากกว่าดอกเบี้ย ลูกหนี้สามารถปิดจบหนี้ได้ภายในระยะเวลาไม่นานนัก
บัตรกดเงินสดมักจ่ายขั้นต่ำที่ 3% และดอกเบี้ยส่วนใหญ่อยู่ที่ 25% ต่อปี ซึ่งจะทำให้ ตัดจ่ายดอกเบี้ย 2% และตัดเงินต้นเพียง 1%
การเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง จะมีการรายงานข้อมูลในเครดิตบูโร (NCB) หรือไม่
จะมีการรายงานข้อมูลใน NCB โดยเพิ่มการรายงานประเภทของสัญญาปรับปรุงโครงสร้างหนี้ "รหัส (code) 03" โดยจะไม่กระทบสถานะบัญชีลูกหนี้ที่ยังเป็น 10-ปกติ เช่นเดิมทั้งนี้ การรายงานนี้ จะช่วยให้ผู้ให้บริการทราบถึงการเข้าโครงการซึ่งสะท้อนความตั้งใจที่ดีในการแก้ปัญหาหนี้ของลูกหนี้
3 เรื่องต้องรู้ หากจ่ายขั้นต่ำบัตรกดเงินสดนาน ๆ
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
1. แม้ภาระต่อเดือนไม่สูง แต่ใช้เวลานาน กว่าจะหมดหนี้
2. ยอดขั้นต่ำที่จ่ายแต่ละเดือนเป็นดอกเบี้ยมากกว่าเงินต้น
3. เมื่อผ่อนจบพบว่ายอดรวมที่จ่ายไปส่วนใหญ่คือ ดอกเบี้ย
อยากหมดหนี้ไว ㆍจ่ายดอกเบี้ยลดลง ㆍ ภาระต่อเดือนไม่เพิ่มจากเดิม
เลือกเข้ามาตรการปิดจบหนี้เรื้อรังได้ตั้งแต่วันนี้เป็นต้นไป
หมายเหตุ : ลูกหนี้ที่เข้าข่ายเป็นหนี้รื้อร้ง จะได้รับการติดต่อจากเจ้าหนี้ โดยหาก 5 ปีที่ผ่านมา ลูกหนี้จ่ายดอกเบี้ยรวมมากกว่าเงินต้นรวม จะได้รับข้อเสนอปิดจบหนี้ภายใน 5 ปี ดอกเบี้ยไม่เกิน 15% ต่อปี
ทำไมต้องมีเงื่อนไขปิดวงเงินหากเข้าร่วมมาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง
เงื่อนไขการปิดวงเงินจะช่วยให้ลูกหนี้มีวินัยทางการเงินเพิ่มขึ้นและสามารถปิดจบหนี้ได้ภายใน 5 ปี
อย่างไรก็ดี กรณีลูกหนี้ที่เข้ามาตรการฯ มีความจำเป็นฉุกเฉิน เช่น เจ็บป่วย ได้รับอุบัติเหตุ ตกงาน ผู้ให้บริการอาจพิจารณาให้สินเชื่อได้ หากลูกหนี้มีความสามารถในการชำระหนี้เพียงพอ ทั้งนี้ ขึ้นอยู่กับนโยบายและเงื่อนไขของผู้ให้บริการแต่ละแห่ง
กรณีลูกหนี้มีบัตรกดเงินสดมากกว่า 1 ใบ สามารถเลือกเข้าโครงการแค่บางบัตร และเก็บวงเงินบัตรกดเงินสดที่เหลือไว้ก่อนได้
มาตรการปิดจบหนี้เรื้อรัง..ช่วยเหลือลูกหนี้อย่างไร?
ถ้าได้รับแจ้งเตือนว่าเป็นลูกหนี้เรื้อรัง (severe PD) จะได้รับข้อเสนอให้สมัครเข้าร่วมมาตรการเพื่อปิดจบหนี้ ซึ่งจะได้รับประโยชน์จากการเข้าร่วมมาตรการ ดังนี้
** สำหรับลูกหนี้ที่เริ่มเรื้อรัง (general PD) ให้รีบติดต่อเจ้าหนี้หากต้องการแก้หนี้ เจ้าหนี้จะมีแนวทางให้ความช่วยเหลือที่เหมาะสมเป็นรายกรณี **
การแจ้งเตือนเมื่อเข้าข่ายลูกหนี้เรื้อรัง
ความถี่การแจ้งเตือนจากเจ้าหนี้
ช่องทางการแจ้งเตือน
โดยลูกหนี้เรื้อรังจะได้รับข้อเสนอแนวทางการปิดจบหนี้จากเจ้าหนี้ด้วย
หนี้เรื้อรัง คืออะโร.. แค่ไหนที่เรียกว่าเรื้อรัง?
แบบไหนเข้าข่ายปัญหาหนี้เรื้อรัง (Persistent Debt - PD)
ลูกหนี้เรื้อรัง 2 แบบ
1. เริ่มเป็นหนี้เรื้อรัง (general PD)
2. เป็นหนี้เรื้อรัง (severe PD)
** ธปท. กำหนดเกณฑ์รายได้ เพื่อมุ่งให้ความช่วยเหลือลูกหนี้ที่เดือดร้อนที่สุดก่อน โดยพิจารณาความเรื้อรังและรายได้ที่ไม่สูงมากของลูกหนี้ **
ทวงหนี้อย่างเป็นธรรม ต้องแจ้งข้อมูลสำคัญอะไรบ้าง
เจ้าหนี้จะต้องแจ้งรายละเอียดของภาระหนี้พร้อมข้อมูลสำคัญอื่น ๆ แก่ลูกหนี้ให้ครบถ้วน เช่น
และห้ามเรียกให้ผู้ค้ำประกันชำระหนี้ก่อน ยกเว้น ลูกหนี้ล้มละลายหรือติดต่อไม่ได้
#ResponsibleLending #แก้หนี้ยั่งยืน #เจ้าหนี้รับผิดชอบ #ลูกหนี้มีวินัย
มีหนี้กับหลายเจ้าหนี้จะทำอย่างไร?
เคยปรับโครงสร้างหนี้แล้วขอปรับซ้ำได้ไหม?
หมายเหตุ: เกณฑ์ Responsible Lending ลูกหนี้มีสิทธิขอปรับโครงสร้างหนี้ ก่อนเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง และหลังเป็นหนี้เสีย อย่างน้อย 1 ครั้ง โดยนับรวมการปรับโครงสร้างหนี้ก่อน 1 ม.ค. 67
สัญญาณปัญหาหนี้
สัญญาณว่าลูกหนี้กำลังมีปัญหา เช่น จ่ายขั้นต่ำ จ่ายช้า กดบัตรเงินสดมาจ่ายคืนหนี้อื่น รายได้ไม่พอรายจ่าย ถ้าเห็นสัญญาณแบบนี้ไปคุยกับเจ้าหนี้ได้เลย !!
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
ปิดหนี้ก่อนกำหนดได้ ไม่ต้องจ่าย Prepayment fee
Prepayment fee คือ ค่าปรับจากการไถ่ถอนสินเชื่อก่อนกำหนด
ธปท. ห้ามเรียกเก็บ prepayment fee ในสินเชื่อภายใต้กำกับของ ธปท. ดังนี้
** ยกเว้นสินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังเรียกเก็บ prepayment fee ได้ในกรณีรีไฟแนนซ์ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา เพื่อให้ลูกหนี้มีโอกาสได้ดอกเบี้ยต่ำในช่วง 3 ปีแรก
ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ต่อไปนี้ !! สถาบันการเงินและ Non-bank ภายใต้การกำกับดูแลของ ธปท. ห้ามเรียกเก็บค่าปรับจากการปิดหนี้ก่อนกำหนด (Prepayment Fee)
ยกเว้น สินเชื่อเพื่อที่อยู่อาศัย ที่ผู้ให้บริการยังสามารถเรียกเก็บค่าปรับรีไฟแนนซ์ได้ในช่วง 3 ปีแรกนับจากวันทำสัญญา
หนี้ “ปรับ” ได้
ปัญหาหนี้มีทางออก เจ้าหนี้ต้องเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ ให้กับลูกหนี้ที่ยังไม่เคยได้รับการปรับโครงสร้างหนี้
1. เจ้าหนี้ต้องเสนอปรับโครงสร้างหนี้ (ก่อน 1 หลัง 1)
2. เจ้าหนี้ห้ามโอนขายหนี้ก่อนครบกำหนด 60 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้ /กรณีให้เช่าซื้อหรือให้เช่าแบบ ลีสซิ่ง ต้องไม่บอกเลิกสัญญาหรือจำหน่ายทรัพย์ก่อนครบกำหนด 15 วัน หลังเสนอแผนปรับโครงสร้างหนี้
หมายเหตุ: สนใจติดต่อ Call center และสาขาของธนาคารที่ท่านใช้บริการ
Chairman: Khun Wattanaron Witthayapraphakul (United Overseas Bank (Thai) Public Company Limited)
Coordinator: Khun Pattamaphon Thuansakul
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณวัฒนรณ วิทยประภากุล (ธนาคารยูโอบี จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณปัทมาพร เตือนสกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Than Siripokee (Acting Chairman)
Coordinator: Khun Supada Ruttanapong
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณทัฬห์ สิริโภคี (รักษาการประธาน)
ผู้ประสานงาน: คุณศุภดา รัตนพงษ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Prathin Kijjaruwankul (Kiatnakin Phatra Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Thammanun Harnprasitkam
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณประทิน กิจจารุวรรรกุล (ธนาคารเกียรตินาคินภัทร จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณธรรมนูญ หาญประสิทธิ์คำ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Atip Silpajikarn (Ayutthaya Capital Services Company Limited)
Coordinator: Khun Wasunthree Tri-utok
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณอธิป ศิลป์พจีการ (บริษัท อยุธยา แคปปิตอล เซอร์วิสเซส จำกัด)
ผู้ประสานงาน: คุณวสุนทรี ไตรอุโฆษ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Oraphan Siritanyong (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Nipaporn Daokhanon
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณอรพรรณ ศิริตันหยง (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณนิภาพร ดาวขนอน
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Thitivorn Chothayaphorn (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinator: Khun Jitti Wijitbanjong
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณฐิติวร โชตยาภรณ์ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณจิตติ วิจิตรบรรจง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Suteera Sripaibulya (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Sampantanee Apaipan
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณสุธีรา ศรีไพบูลย์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสัมพันธนี อภัยพันธุ์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Panabhand Hankijjakul (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Oraphan Ketlertprasert
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณปานะพันธ์ หาญกิจจะกุล (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณอรพรรณ เกตุเลิศประเสริฐ
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Co Acting Chairman: Khun Settarat Na-Nakorn (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Co Acting Chairman: Khun Suchanee Lavanavanija (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Monruedee Teerarungruang
Objectives: The Club is established
รักษาการประธาน: คุณเศรษฐรัฐ ณ นคร (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
รักษาการประธาน: คุณสุชาณี ลวนะวณิช (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณมลฤดี ตีรรุ่งเรือง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Worawat Suwakon (The Siam Commercial Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Wichitra Tangsangkharom
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณวรวัจน์ สุวคนธ์ (ธนาคารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวิจิตรา ตั้งสังขะรมย์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Phattrapha Hongkumdee (Kasikorn Bank Public Company Limited)
Coordinator: Mr. Warat Attanandana
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณภัทราภา หงษ์คำดี (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรัท อัตตะนันทน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Piyapong Sangpattarachait (Kasikornbank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Watchakan Sethaput
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณปิยะพงศ์ แสงภัทราชัย (ธนาคารกสิกรไทย จำกัด(มหาขน))
ผู้ประสานงาน: คุณวัชกานต์ เศรษฐบุตร
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Dr. Phacharaphot Nuntramas (Krungthai Bank Public Company Limited)
Coordinator: Dr. Chamadanai Maknual
Objectives: The Club is established
ประธาน: ดร.พชรพจน์ นันทรามาศ (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: ดร.ฉมาดนัย มากนวล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
ประธาน: คุณสุวิทย์ อินทรเฉลิม (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณศุภวัตร มะเส็ง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้นเพื่อดำเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมโดยความเห็นชอบของสมาชิกซึ่งสอดคล้องกับการดำเนินงานของสมาคมธนาคารไทย ดังนี้
Chairman: Khun Suwit Indrachalerm (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Suphawat Maseng
Objectives: This club is established with the approval of its members to carry out corporate social responsibility (CSR) activities consistent with the operations of the Thai Bankers’ Association as follows
Chairman: Khun Atis Ruchirawat (Krungsri Consumer)
Coordinator: Khun Apsorn Suttaroj
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณอธิศ รุจิรวัฒน์ (กรุงศรี คอนซูมเมอร์)
ผู้ประสานงาน: คุณอัปสร สุทธาโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Kittichai Singha (Bank of Ayudhya Public Company Limited)
Coordinatior: Khun Chutiporn Jiranansuroj
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณกิตติชัย สิงหะ (ธนาคารกรุงศรีอยุธยา จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณชุติภรณ์ จิรนันท์สุโรจน์
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Acting Chairman: Khun Jeerana Ramasoot (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Supawadee Soita
Objectives: The Club is established
รักษาการประธาน: คุณจีรณา รามสูต (ธนาคารกรุงไทย จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุภาวดี สร้อยตา
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Sureporn Tuncharuen (Siam Commercial Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Sunisa Netsawang
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณสุรีพร ตันจรูญ (ธนาคารทหารไทยพาณิชย์ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสุนิษา เนตรสว่าง
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Prassanee Uiyamapan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Warintra Srithipakorn
Objectives: This club is established
ประธาน: คุณปรัศนี อุยยามะพันธุ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณวรินทรา ศรีทิพากร
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น
Chairman: Khun Oranuch Nampoolsuksan (Bangkok Bank Public Company Limited)
Coordinator: Khun Roongratt Ratanarajchartikul
Objectives: The Club is established
ประธาน: คุณอรนุช นำพูลสุขสันติ์ (ธนาคารกรุงเทพ จำกัด (มหาชน))
ผู้ประสานงาน: คุณสาวรุ่งรัตน์ รัตนราชชาติกุล
วัตถุประสงค์: ชมรมฯ นี้ตั้งขึ้น